ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn
2
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
การสังเกต การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
3
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต
4
ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรียนสังเกตได้
5
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การกำหนดปัญหา : ความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริง ที่รวบรวมได้ มีความ ชัดเจน สามารถตรวจสอบ ได้จากการทดลอง
6
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ถ้า ... (เหตุ)... ดังนั้น ... (ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น) การตั้งสมมติฐาน
7
ตัวอย่างที่ 1 ปัญหา : ความเข้มข้นของน้ำตาลใน น้ำสับปะรดมีผลต่อการสลายน้ำตาล ของยีสต์หรือไม่ สมมติฐาน : ถ้าความเข้มข้นของ น้ำตาลในน้ำสับปะรดมีผลต่อการ สลายน้ำตาลของยีสต์ ดังนั้นน้ำ สับปะรดที่มีความเข้มข้นของ น้ำตาลสูงจะเกิดแก๊ส CO2 มากกว่า ในน้ำสับปะรดที่มีความเข้มข้นของ น้ำตาลต่างกัน
8
ตัวอย่างที่ 2 ปัญหา : ปริมาณยีสต์ในน้ำสับปะรดมี ผลต่อการสลายน้ำตาลของยีสต์หรือไม่ สมมติฐาน : ถ้าปริมาณยีสต์ในน้ำ สับปะรดมีผลต่อการสลายน้ำตาล ของยีสต์ ดังนั้นน้ำสับปะรดที่มี ปริมาณยีสต์มากกว่าจะเกิดแก๊ส CO2 มากกว่าในน้ำสับปะรดที่มี ปริมาณยีสต์น้อยกว่า
9
ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ)
การตรวจสอบสมมติฐาน ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) ตัวแปรที่ต้องศึกษา ตัวแปรตาม ตัวแปรที่เป็นผลที่เกิดจากตัวแปรต้น ตัวแปรควบคุม ตัวแปรที่ถูกควบคุมให้คงที่เหมือนกันทุกชุดการทดลอง กลุ่มควบคุม กลุ่มที่ไม่มีผลจากตัวแปรต้น กลุ่มทดลอง กลุ่มที่มีผลจากตัวแปรต้น
10
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ปรากฎการณ์ที่เป็นจริงตามธรรมชาติ ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้จากผลการทดลอง ข้อมูล การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด เพื่อนำเข้าสู่ข้อเท็จจริง ข้อสรุป หลักการเป็นจริง เน้นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล สามารถตรวจสอบได้ กฎ สมมติฐานที่ผ่านการทดสอบ หลายๆ ครั้งแล้วให้ผลตรงกัน ทฤษฎี
11
แบบฝึกหัด การทดสอบเรื่อง ความสามารถของยางมะละกอที่ ทำให้เนื้อสัตว์เปื่อย การทดสอบเรื่อง การผลิต CO2 ของสิ่งมีชีวิต ( ใช้ Hydrogencarbonate จับ CO2 )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.