งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง  (ICCPR)

2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ให้การรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ และมีผลใช้บังคับเมื่อ 23 มีนาคม พ.ศ. 2519

3 สนธิสัญญานี้ให้คำมั่นสัญญาว่าภาคีจะเคารพสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของบุคคลซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิต เสรีภาพในศาสนา เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการรวมตัว สิทธิเลือกตั้ง

4 และสิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม จนถึงเดือนตุลาคม พ. ศ
และสิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ กติการะหว่างประเทศนี้มีประเทศลงนาม 72 แห่งและภาคี 165 แห่ง

5 ICCPR เป็นส่วนหนึ่งของ "International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR) ICCPR เป็นส่วนหนึ่งของ "International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR)

6 และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR)

7 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนี้ติดตามตรวจสอบโดยคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน (Human Rights Committee) (หน่วยงานต่างหากจากคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Human Rights Council)

8 ซึ่งได้แทนที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on Human Rights) ภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติใน พ.ศ. 2549) ซึ่งตั้งขึ้นอย่างถาวร

9 เพื่อพิจารณารายงานตามกำหนดเวลา ที่ส่งเข้ามาโดยรัฐสมาชิกตามข้อตกลงในสนธิสัญญา สมาชิกของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนนั้นจะคัดเลือกโดยรัฐสมาชิก แต่ไม่ได้เป็นตัวแทนของรัฐใด ๆ

10 ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญานี้โดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2540

11 คำถาม

12 1.กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งมีการรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ แต่มีผลบังคับใช้เมื่อใด ก. 23 มีนาคม พ.ศ. 2519 ข. 23 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ค. 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ง. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

13 ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

14 ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

15 2. ICCPR ย่อมาจากคำว่าอะไร
ก.ข้อบังคับของการมีสิทธิทางการเมืองและเสรีภาพ ข. ข้อบังคับของการมีเสรีภาพ ค. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ง. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางการเมืองและเสรีภาพ

16 ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

17 ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

18 3.กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนี้ติดตามตรวจสอบโดยหน่วยงานใด
ก. กรมการขนส่งทางบก ข. คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน ค. คณะ สสร. ง. สมาชิกสภาแก้ไขสิทธิมนุษยชน

19 ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

20 ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

21 4. สมาชิกของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนนั้นจะถูกคัดเลือกโดยใคร
ก. รัฐสภา ค. ประชาชน ข. ประธานรัฐสภา ง. นายยกรัฐมนตรี

22 ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

23 ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

24 5. ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญานี้โดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่เท่าใด
ก. 25 ธันวาคม พ.ศ. 2436 ข. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ค. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2537 ง. 29 ตุลาคม พ.ศ. 2539

25 ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

26 ถูกต้องครับ ผู้จัดทำ

27 ผู้จัดทำ สิ้นสุดการนำเสนอ นาย วุฒิภัทร เรืองศรี ม.6/2 เลขที่ 3
นาย วุฒิภัทร เรืองศรี ม.6/2 เลขที่ 3 นาย ยศวรรธน์ สิงห์หา ม.6/2 เลขที่ 5 นาย พฤกษา ศรีทอง ม.6/2 เลขที่ 22 นาย ชรินทร์ นวลจันทร์ ม.6/2 เลขที่ 28


ดาวน์โหลด ppt กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google