ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
เอกสาร หน้า 1 สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย มาจากคำสั่งต่อไปนี้ สถิติพื้นฐาน Frequencies, Percents Mean, Median, Mode Variance, Standard Deviation ภาพ Chart, Histogram Stem-and-Leaf Plot, Box Plot คำสั่ง 1. FREQUENCIES 2. CROSSTABS 3. DESCRIPTIVES 4. EXPLORE
2
1. FREQUENCIES ค่าสูญหาย คำสั่ง FREQUENCIES
เอกสาร หน้า 1-2 ค่าร้อยละของผู้ชายเมื่อหัก ค่าสูญหาย ออกแล้วคือ = = 40.4% คำสั่ง FREQUENCIES VARIABLES = sex /BARCHART FREQ /ORDER = ANALYSIS . ผู้ชายคิดเป็นร้อยละคือ = = 38.0% ผู้ชายมีจำนวน 19 คน หัก ค่าสูญหาย ออกแล้ว ค่าสูญหาย
3
เอกสาร หน้า 3-4 แผนภูมิ
4
เมื่อนำตัวแปร SEX และ I4NEW มาอยู่ในตารางเดียวกัน จะได้
เอกสาร หน้า 2,4 เมื่อนำตัวแปร SEX และ I4NEW มาอยู่ในตารางเดียวกัน จะได้ Contingency table หรือ Crosstabulation ดังหัวข้อ CROSSTABS ต่อไปนี้ เมื่อนำตารางแจกแจงความถี่ 2 ตาราง มารวมกันเป็น 1 ตาราง จะมีชื่อว่า Contingency table หรือ Crosstabulation ตารางที่ 1 ตัวแปร SEX ตารางที่ 2 ตัวแปร I4NEW
5
2. CROSSTABS COUNT คือ จำนวน หรือ ความถี่ หัวตารางหลัก หัวตารางรอง
เอกสารหน้า 4-6 คำสั่ง CROSSTABS /TABLES=sex BY i4new /FORMAT= AVALUE TABLES /CELLS= COUNT /BARCHART . COUNT คือ จำนวน หรือ ความถี่ หัวตารางหลัก หัวตารางรอง ตัวแปรตัวที่ 2 I4NEW ตัวแปรตัวที่ 1 SEX
6
คำสั่งย่อย /CELLS= COUNT EXPECTED.
เอกสาร หน้า 6-8 แถวตั้งที่ 1 เรียก Cell(2, 1) แถวนอนที่ 2 Cell(i, j) = EXPECTED Cell(2, 1) = Cell(4, 1) =
7
ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT ROW .
เอกสารหน้า 8 ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT ROW . ค่าร้อยละของ Cell(2, 1) = % within SEX หรือ ROW ค่าร้อยละของ Cell(4, 1) =
8
ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT COLUMN .
เอกสารหน้า 9 ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT COLUMN . ค่าร้อยละของ Cell(2, 1) = % within I4NEW หรือ COLUMN ค่าร้อยละของ Cell(4, 1) =
9
ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT TOTAL .
เอกสารหน้า 10 ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT TOTAL . เมื่อรวมทั้ง 5 ตาราง ที่ผ่านมาแล้ว จะได้ตารางรวมทั้งหมด ดังจอภาพต่อไป ค่าร้อยละของ Cell(2, 1) = % of Total ค่าร้อยละของ Cell(4, 1) =
10
ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT EXPECTED ROW COLUMN TOTAL .
เอกสารหน้า 11 ผลลัพธ์จากคำสั่งย่อย /CELLS= COUNT EXPECTED ROW COLUMN TOTAL . ผลการคำนวณ ที่ผ่านมา
11
ตาราง 3 มิติ (ตัวแปร 3 ตัว) เช่น /TABLES=sex BY i4new BY edu.
เอกสารหน้า 12 ตาราง 3 มิติ (ตัวแปร 3 ตัว) เช่น /TABLES=sex BY i4new BY edu. คุมโดย EDU
12
3. DESCRIPTIVES จากคำสั่งนี้จะได้ผลลัพธ์ภาพต่อไป เอกสารหน้า 12
VARIABLES=i4 /STATISTICS=MEAN SUM STDDEV VARIANCE RANGE MIN MAX SEMEAN KURTOSIS SKEWNESS . จากคำสั่งนี้จะได้ผลลัพธ์ภาพต่อไป
13
ผลลัพธ์ของคำสั่ง DESCRIPTIVES
เอกสารหน้า 13-14 N = 50 Range คือ Max - Min = = 2 Sum คือ 144 Mean คือ 2.88 Std. Error 8.40E-02 หรือ 0.084 Std. Deviation คือ .59 Variance คือ .353 Skewness คือ .031 Kurtosis คือ -.106
14
ถ้า Skewness = 0 แล้ว เส้นโค้งจะไม่มีความเบ้
เอกสารหน้า 15-16 เบ้ซ้าย เบ้ขวา ถ้า Skewness = 0 แล้ว เส้นโค้งจะไม่มีความเบ้
15
ถ้า Kurtosis = 0 แล้ว เส้นโค้งจะมีความเป็นปกติหรือโด่งปกติ
เอกสารหน้า 17 ความโด่ง(Kurtosis) โด่งมาก โด่งน้อย ถ้า Kurtosis = 0 แล้ว เส้นโค้งจะมีความเป็นปกติหรือโด่งปกติ
16
4. EXPLORE เอกสารหน้า 20-21 คำสั่ง COMPUTE satisf = i1+i2+i3+i3+i4+i5+i6+i7 . EXAMINE VARIABLES=satisf /PLOT BOXPLOT STEMLEAF /COMPARE GROUP /STATISTICS DESCRIPTIVES.
17
ฮิสโทแกรม (Histogram)
เอกสารหน้า 22-23 ฮิสโทแกรม (Histogram) ข้อมูลส่วนใหญ่ ในที่นี้อยู่ในชั้นที่ 5 โดยจุดกึ่งกลางคือ 24 ค่าต่ำสุดคือ 16 อยู่ในชั้นแรก ค่าสูงสุดคือ 32 อยู่ในชั้นสุดท้าย
18
Stem-and-Leaf Plot บรรทัดแรกมีความถี่เท่ากับ 8
เอกสารหน้า 24-25 บรรทัดแรกมีความถี่เท่ากับ 8 ประกอบด้วยข้อมูลต่อไปนี้คือ 16, 17, 17, 17, 18, 18, 19, 19 Stem width: SATISF Stem-and-Leaf Plot Frequency Stem & Leaf 1.00 Extremes (>=32) Stem width: Each leaf: case(s) ภาพ 4.4 ต้นและใบของตัวแปร satisf บรรทัดที่สองมีความถี่เท่ากับ 28 บรรทัดที่สามมีความถี่เท่ากับ 10 บรรทัดที่สี่มีความถี่เท่ากับ 2 ประกอบด้วยข้อมูลต่อไปนี้คือ 30, 30 ข้อมูลสุดขีดมีหนึ่งรายการคือ 32
19
Box Plot 1 Outlier ภาพกล่องของตัวแปร satisf เอกสารหน้า 26
คำสั่ง EXAMINE VARIABLES = satisf. เส้นหนวด แสดงค่าสูงสุดของข้อมูล ที่ยังไม่สูงผิดปกติ = Q3+1.5(IQR) Outlier ด้านบนคือ Q3 เส้น Median ด้านล่างคือ Q1 ภาพกล่องของตัวแปร satisf
20
Box Plot 2 ต่อไปดู การเปรียบเทียบ ความเบ้ 3 แบบ
เอกสารหน้า 27 คำสั่ง EXAMINE VARIABLES = satisf BY edu. ต่อไปดู การเปรียบเทียบ ความเบ้ 3 แบบ ผู้มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความเห็น แตกต่างกันมากที่สุด (กล่องใหญ่ที่สุด) ปริญญาโทและเอก มีมัธยฐานเท่ากัน ภาพกล่องของตัวแปร satisf เมื่อแบ่งตามระดับการศึกษา
21
แบบที่ 1 มัธยฐานชิดขอบบนของกล่อง ข้อมูลส่วนใหญ่มีค่าสูง
เอกสารหน้า 27 แบบที่ 1 เบ้ซ้าย เบ้ซ้าย มัธยฐานชิดขอบบนของกล่อง ข้อมูลส่วนใหญ่มีค่าสูง 2 ภาพนี้มาจากข้อมูลชุดเดียวกัน (แจกแจงเหมือนกัน)
22
มัธยฐานอยู่ตรงกึ่งกลางของกล่อง
เอกสารหน้า 28 แบบที่ 2 สมมาตร สมมาตร ข้อมูลแจกแจงปกติ มัธยฐานอยู่ตรงกึ่งกลางของกล่อง 2 ภาพนี้มาจากข้อมูลชุดเดียวกัน (แจกแจงเหมือนกัน)
23
ข้อมูลส่วนใหญ่มีค่าต่ำ มัธยฐานชิดขอบล่างของกล่อง
เอกสารหน้า 28 แบบที่ 3 เบ้ขวา เบ้ขวา ข้อมูลส่วนใหญ่มีค่าต่ำ มัธยฐานชิดขอบล่างของกล่อง 2 ภาพนี้มาจากข้อมูลชุดเดียวกัน (แจกแจงเหมือนกัน)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.