งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ (ศ.363) กันยายน 2553

2 ภาพรวม ทศวรรษ 1970 การผลิตเริ่มกระจายไปทั่วโลก
แรงงานหญิง  อุตสาหกรรม / ธุรกิจข้ามชาติที่ใช้ แรงงานเข้มข้น ทศวรรษ 1980 ระบบเศรษฐกิจเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ นโยบายการค้า และ การปรับโครงสร้าง ใช้แรงงานหญิงมากขึ้น ทศวรรษ 1990 บริการดูแล ‘care work’ เข้าสู่กระบวนการโลกาภิวัตน์ การย้ายถิ่นระหว่างประเทศมีผู้หญิงมากขึ้น

3 การผลิต กับ ธุรกิจข้ามชาติ
ทศวรรษ 1970 การผลิต กับ ธุรกิจข้ามชาติ การลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ โอนการผลิตจากประเทศรวย สู่ประเทศจน “รุ่นที่หนึ่ง” – เอเชียอาคเนย์ เม็กซิโก ไอร์แลนด์ แสวงหาต้นทุนต่ำ แข่งขัน  การจ้างงานผู้หญิง ขบวนการพัฒนา เน้น ส่งเสริมการส่งออก ต่างจากสมัย 1950 และ 1960 การพัฒนาเน้น อุตสาหกรรมที่ทดแทนการนำเข้า  ผู้หญิงถูกกันออกไปอยู่ชายขอบ

4 ทศวรรษ 1970 (ต่อ) การศึกษาในตอนต้นๆ มักเน้นไปที่ หลักฐานในเชิงลบ
ผู้หญิงเป็น “เหยื่อ” ของการพัฒนา ค่าจ้างต่ำ สัญญาการจ้างงานสั้นๆ ไม่แน่นอน สภาพการ ทำงานแย่ การเน้นส่งออก มุ่งดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ ตลาดแรงงานไม่มีการควบคุม แรงงานหญิงเสียเปรียบแรงงานชาย เพราะ....

5 ทศวรรษ 1980 โลกาภิวัตน์ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว
การอยากเป็นส่วนหนึ่งของ “ตลาดโลก”  รัฐบาลประเทศ กำลังพัฒนาต้องยอมรับนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ลดกฎระเบียบการเงิน เปิดเสรีให้การลงทุนจากต่างชาติ เปิดการค้าเสรี โมเดลการพัฒนาที่เน้นส่งออก ตลาดแรงงานไม่เข้มงวด (informalization) การลงทุนย้ายไปสู่ประเทศ “รุ่นสอง” อเมริกากลาง อินโดนีเซีย อัฟริกาเหนือ อินเดีย จีน งานออฟฟิศ เริ่ม เข้าสู่ตลาดโลก

6 ผลด้านการจ้างงานสำหรับผู้หญิง ซับซ้อน หลากหลาย
ผลด้านการจ้างงานสำหรับผู้หญิง ซับซ้อน หลากหลาย หลักฐานระยะหลัง งานในอุตสาหกรรมส่งออกเพิ่มค่าจ้างให้แรงงานหญิง ในอัตราสูงกว่าการจ้างงานที่เกิดจากการลงทุนในประเทศ หลากหลาย เช่น สาขาบริการ สัดส่วนของแรงงานหญิงน้อยลง (defeminization) เทคโนโลยีใหม่ๆ มักจะ  อุปสงค์ต่อแรงงานชาย ความสามารถในการเพิ่มทักษะของผู้หญิงถูกจำกัด เพราะ ความรับผิดชอบด้านครอบครัว ตารางการทำงานเปลี่ยน ไม่เหมาะกับผู้หญิง ผู้ชายเริ่มหันมาแย่งงาน ยอมรับค่าจ้างต่ำลง (women’s wages) การลงทุนเน้นอุตสาหกรรมที่ใช้ทุนสูง

7 ผู้หญิงเข้าสู่แรงงานมากมาย ค่าจ้างเริ่มสูงขึ้น แต่ยังต่ำกว่าชายอยู่ดี
ประสบการณ์ของประเทศในเอเชียอาคเนย์ ผู้หญิงเข้าสู่แรงงานมากมาย ค่าจ้างเริ่มสูงขึ้น แต่ยังต่ำกว่าชายอยู่ดี ยิ่งเศรษฐกิจขยายตัวเร็ว ช่องว่างระหว่างหญิงชายยิ่งกว้าง สรุปว่า ผู้หญิงได้ประโยชน์ แต่... มีช่องว่างด้านค่าจ้าง เม็กซิโก – แรงงาน “ปริมาณไม่จำกัด” การว่างงานสูง ไต้หวัน – ผู้หญิงได้ประโยชน์จำกัด ความไม่เท่าเทียม ด้านค่าจ้างสูง การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี ไปสู่งานระดับฝีมือสูง บังกลาเทศ – ไม่กล้าบังคับใช้มาตรฐานแรงงานสากล

8 ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก จาก อินเดีย และ จีน
ทศวรรษ ปัจจุบัน ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก จาก อินเดีย และ จีน จากโลกาภิวัตน์ด้านการผลิต  บริการดูแล (care work) ผู้หญิงมีบทบาทสูงในการย้ายแรงงานข้ามชาติ วิกฤติบริการดูแล ในประเทศรวย  อุปสงค์ต่อแรงงานหญิง ในสาขาบริการ (คนรับใช้ พี่เลี้ยงเด็ก / คนชรา) ผู้หญิงหางานง่ายกว่า แต่...ต้องทิ้งเด็ก และครอบครัวตนเอง ในประเทศจน ผู้หญิงเข้าสู่ตลาดแรงงานมากขึ้น แต่งานมีไม่พอ วิกฤตเศรษฐกิจ  ยอมรับบทบาทใหม่ๆของผู้หญิง โดยเฉพาะการย้ายถิ่น

9 คนที่อยู่ข้างหลัง (ผู้ชาย??) รับบทบาทงานที่ ผู้หญิงเคยทำ
บทบาทหญิงชายเปลี่ยนไปจากดั้งเดิม ความอิสระ พึ่งตนเอง อำนาจในการตัดสินใจ – ในครอบครัว ชุมชน ประเทศ เงินที่แรงงานหญิงส่งกลับ กลายเป็นแหล่งรายได้สำคัญ ของการอยู่รอดของครัวเรือน คนที่อยู่ข้างหลัง (ผู้ชาย??) รับบทบาทงานที่ ผู้หญิงเคยทำ อาจย้ายถิ่นด้วยเหตุผลอื่นๆ (นอกจากรายได้)


ดาวน์โหลด ppt โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google