ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNimnuan Kunakorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง นพมณี โทปุญญานนท์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2
การสังเคราะห์แสง คืออะไร
กระบวนการที่พืชสีเขียวนำพลังงานแสง และเปลี่ยนแปลงเป็น พลังงานเคมี สะสมในโมเลกุลของ สิ่งมีชีวิต
3
สิ่งที่ต้องศึกษา 1. โครงสร้างพืชที่เกี่ยวข้อง 2. แสง
3. Chroloplast - หน่วยการสังเคราะห์แสง 4. ปฏิกริยาที่เกิดขึ้น
4
พืช Chloroplast and Chlorophyll
ใบต้องมีลักษณธแผ่และบางเพื่อประโยชน์ในการรับแสงให้มากที่สุด Mesophyll cells ประกอบด้วย palisade and spongy
5
Chloroplast and Chlorophyll
ใบต้องมีลักษณธแผ่และบางเพื่อประโยชน์ในการรับแสงให้มากที่สุด Mesophyll cells ประกอบด้วย palisade and spongy
6
lumen
8
รงควัตถุในพืช 1. Chlrolophyll 2. Carotenoid อยู่บน Thylakoid
9
Chlorophyll - fat soluble pigments - พบใน พืช แอลจี และแบคทีเรีย
- พบใน พืช แอลจี และแบคทีเรีย - ดูดแสง nm (ม่วง-น้ำเงิน) nm (ส้ม-แดง) - มีหลายชนิด chl a, b, c, d
10
โครงสร้างรงควัตถุต่าง ๆ
porphyrin Phytol chain pheophytin Chl b Chl a lutein B carotene
11
Chlorophyll a C55H72O5N4Mg สีเขียว พบในสิ่งมีชีวิตที่ PS ได้ ยกเว้น PS-bacteria absorption spectrum 430 และ 662 nm Chlorophyll b C55H70O6N4Mg สีเขียวแกมน้ำเงิน พบในพืช สาหร่ายสีเขียว และ prokaryote บางชนิด absorption spectrum 453 และ 642 nm
15
Carotenoids - พบในสิ่งมีชีวิตที่ PS ได้ - fat soluble ไม่มี oxygen
- ดูดซับแสง และ nm - สีแดง ส้ม เหลือง - ช่วยป้องกันการเกิด photo-oxidation beta - carotene, Lutein Xanthophylls มีหลายรูปแบบ พบในแอลจี และ พืชชั้นสูง Phycobilins (phytocyanin and phycoerythrin) พบในสาหร่ายสีแดง และ cyanobacteria
17
รงควัตถุเสริม - Chlorophyll c and d - phytoerythrin - phycocyanin
red algae และ cyanobacteria
18
รายละเอียดโครงสร้างของ Chloroplast หน่วยทำงานของการสังเคราะห์แสง
- photosystem I - photosystem II - Cytochrome b6f - ATP synthase อยู่ใน grana
19
การเรียงตัวของหน่วยของกระบวนการสังเคราะห์แสง
Cyt b6f ATP synthase Light harvesting complex PS II complex PS I complex
21
PS I ส่วนประกอบของ PS I - Reaction center (special pair of chl a)
ที่ดูดแสง nm (P700) - โปรตีน, เปปไทด์ - chlorophyll a ประมาณ โมเลกุล - chlorophyll b, carotenoids antenna complex
22
PS I - อยู่ใน thylakoid membrane ที่อยู่ติดกับ
stroma ผ่าน e- carrier ให้ NADP+ - หน้าที่ รับพลังงานแสงและขนส่ง e-
24
PS II ส่วนประกอบของ PS II - Reaction center
- special pair of chl a ที่ดูดแสง 680 nm (P680) - cytochrome b599 - polypeptide 2 ชนิด - Protein - Pigments (antenna complex) - กลุ่ม manganese - tyrosine residue (การแตกตัวของน้ำ)
25
PS II - อยู่ใน thylakoid membrane ภายใน grana
- หน้าที่จะ oxidize โมเลกุลของน้ำและให้ e- เพื่อเข้าสู่ PS I
26
องค์ประกอบอื่นที่สำคัญ และเกี่ยวข้องกับ PS
- Cytochrome b6f - ATP synthase
29
แสง - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) - ช่วงแสงที่สามารถมองเห็น
คลื่นแสงสั้น พลังงานมาก คลื่นแสงยาว พลังงานต่ำ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) - ช่วงแสงที่สามารถมองเห็น nm ช่วงแสงที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง nm
30
แสงเป็นอานุภาคที่เรียกว่า PHOTON
อนุภาคมีพลังงานที่เรียกว่า Quantum ความเข้มแสง (light intensity-brightness) - คือจำนวนโฟตอน หรือ ปริมาณพลังงานที่ถูก ดูดซับต่อหน่วยเวลา แต่ละโฟตอนจะมีปริมาณพลังงานตามกำหนด ตามการสั่นสะเทือนของโฟตอน - ระยะทางการสั่นสะเทือนที่สมบูรณ์ของโฟตอน เรียกว่า คลื่นแสง (wavelength)
31
แสงที่เป็นประโยชน์ต่อการสังเคราะห์แสง
1. Photosynthetically active radiation (PAR) แสงที่คลอโรฟิลล์ดูดซับไว้ ( nm) 2. Photosynthetic photon flux density (PPFD) ปริมาณหรือความเข้มข้นของโฟตอน ที่กระทบใบพืช
32
อย่าลืม! แสงยังเกี่ยวข้องกับกระบวนการอื่น ๆ ของพืช เช่น การออกดอก การงอก
33
การถ่ายเทพลังงาน
34
Fluorescence Heat resonance energy transfer sucessive electron transfer
35
Light Harvesting System
36
การเรียงตัวของหน่วยของกระบวนการสังเคราะห์แสง
Cyt b6f ATP synthase Light harvesting complex PS II complex PS I complex
37
Photosynthesis 1. Photochemical reaction (light reaction) 2. Biochemical reaction (dark reaction)
38
ภาพรวม Photochemical และ Biochemical reactions
39
Photochemical reaction
(light reaction) photophosphorylation Non-cyclic Cyclic
40
Z - scheme
42
Cyclic photophosphorylation
45
Photochemical reaction
2H2O + 2NADP+ + 3Pi + 3ADP 8 photons O2 + 2NADPH + 2H+ + 3ATP + 4e-
46
Biochemical reaction (dark reaction) light-independent reaction
1. Carbon fixation 2. Reduction 3. regeneration
48
Calvin Cycle C3 plant
49
1. Carbon fixation RUBISCO
50
2. reduction
51
3. regeneration
52
Calvin Cycle C3 plant
53
Photorespiration เกิดในพืช C3 - hot (สูงกว่า 28 C) and
dry climate - low CO ppm - rubisco ตรึง O2 และให้ CO2 - ไม่เหมือนการหายใจ เพราะไม่ให้ ATP แต่ใช้ ATP - การสูญเสียสูงถึง 25 %
54
2C-amino acid Serine -3C Glycerate-2-phosphate Glycolate
55
- ใน 1 วินาทีแรก 80% เป็น กรด 4C malic acid
C4 photosynthesis - ใน 1 วินาทีแรก 80% เป็น กรด 4C malic acid CO2 ถูกตรึงที่ mesophyll แต่ไม่มี rubisco
57
Kranz anatomy (halo, wreath)
58
Phosphoenolpyruvic acid
(PEP) 3C Oxaloacetic acid (OAA) 4C malic or aspartic acid (4C) Pyruvic acid ( 3C) C 4 reaction
59
C4 plant - No photorespiration - CO2 ต่ำได้ถึง 0
- all C4 are angiosperm : 17 families - เช่น ขัาวโพด, มิลเลท, อ้อย, Bermuda grass - ไม่พบ C4 gymnosperm, bryophyta หรือ algae
60
แต่ทำไมพืช C4 จึงไม่ครองโลก
6CO2 + 30ATP + 12NADPH + 12H2O C6H12O6 + 30ADP+ 30Pi + 12NADP+ + 6H2O + 6O2 6CO2 + 18ATP + 12NADPH + 12H2O C6H12O6 + 18ADP+ 30Pi + 12NADP+ + 6H2O + 6O2 C4 C3 เมื่อไม่ร้อน และ แห้ง
63
metabolism (CAM) plant
Crassulacean acid metabolism (CAM) plant - พบในพืชที่อยู่ที่แห้งแล้งมาก - ตรึง CO2 ในเวลากลางคืน ได้กรด 4C เก็บไว้ใน vacuole - กลางวันเข้าสู่ calvin cycle - เกิดในเซลล์เดียวกัน
64
CAM Plant
65
การนำความรู้ที่ได้มาใช้ประโยชน์
การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ให้มีระบบ C4 หลักการ - ข้าว (พืช C3) ข้าวโพด (พืช C4)
66
เปลี่ยน โครงสร้างของใบ ??? เปลี่ยน biochemical pathway
ใส่ยีนส์ของข้าวโพด 3 ตัว - phosphoenolpyruvate carboxylase (PEPC) - pyruvate orthophoasphate dikinase (PPDK) - NADP-malic enzyme (ME) ที่จีน เกาหลี ลองปลูกได้ ผลผลิตเพิ่ม 30-35%
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.