ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKorasut Shinawatra ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
2
จุดประสงค์ 1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ) เพื่อคัดกรองพฤติกรรมนักเรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มมีปัญหา
3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีผลการศึกษาพฤติกรรมนักเรียนด้านต่างๆ สามารถคัดกรองพฤติกรรมนักเรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา เพื่อดำเนินการช่วยเหลือต่อไป
4
ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน คน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน คน โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 ตัวแปรต้น พฤติกรรมนักเรียน ตัวแปรตาม ผลการคัดกรองพฤติกรรมนักเรียน ตัวแปรอิสระ แบบประเมินตนเอง(SDQ)
5
นิยามศัพท์เฉพาะ พฤติกรรมนักเรียน หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติในช่วง 6 เดือนก่อนการประเมิน ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มพฤติกรรม 5 ด้าน ได้แก่ 1.พฤติกรรมด้านอารมณ์ 2.พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง/สมาธิสั้น 3.พฤติกรรมเกเร/ความประพฤติ 4.พฤติกรรมด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน 5.พฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม
6
แบบประเมินตนเอง(SDQ)
เป็นแบบประเมินของสำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขพัฒนาจาก The Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) เป็นเครื่องมือที่ผ่านการวิจัยแล้วว่ามีประสิทธิภาพในการ คัดกรองปัญหาเด็กได้ดี สามารถช่วยเหลือครูในด้านการคัดกรองปัญหาและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่นักเรียน แบบประเมินตนเอง(SDQ) เหมาะสำหรับเด็กอายุ ปี
7
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับนักเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
8
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับผู้ปกครองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
9
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับครูของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
10
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับนักเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
11
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับผู้ปกครองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
12
ตารางแสดงร้อยละของผลการประเมินประเมินตนเอง(SDQ) ฉบับครูของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
13
9.ข้อเสนอแนะ 1.ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.ควรปรับปรุงวิธีการตรวจแบบประเมินเพื่อให้ใช้เวลาน้อยลงเนื่องจากการตรวจแบบประเมินด้วยมือกับจำนวนนักเรียนมากๆทำให้ผลที่รับช้าเกินไป 2..เมื่อได้ดำเนินการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา ควรมีการประเมินพฤติกรรมซ้ำเพื่อดูความเปลี่ยนแปลง 2.ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัย 1. ควรนำผลจากการวิจัยในครั้งไปทำวิจัยต่อเพื่อช่วยเหลือเด็กในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.