งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ปกป้อง อุ่มอยู่ และ วิเชียร วรสายัณห์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งฉะเชิงเทรา สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง

2 ทำไมต้องมีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ?
ทรัพยากรสัตว์น้ำตามแหล่งธรรมชาติ และมีแนวโน้มผลผลิตลดลง -จำนวนประชากร ที่เพิ่มสูงขึ้น -ทำการประมงเกินกำลังผลิตจากธรรมชาติ -ความ เสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ -การที่พ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำถูกจับไปจำนวนมาก ไม่สามารถแพร่ ขยายพันธุ์เองในธรรมชาติได้ เกิดการสูญเสียชนิดพันธุ์ของสัตว์น้ำ 

3 แนวทางในการแก้ไข -ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเสริมในแหล่งน้ำธรรมชาติ
-หาแหล่งน้ำที่มีศักยภาพ ในการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำ -ฟื้นฟูสภาพแหล่งน้ำที่เสื่อมโทรม

4 ศึกษาสภาพของแหล่งน้ำที่จะปล่อย -ทะเล แม่น้ำ
วิธีการดำเนินการ ทำอย่างไรให้สัตว์น้ำที่ปล่อยมีอัตรารอดสูง? ศึกษาสภาพของแหล่งน้ำที่จะปล่อย -ทะเล แม่น้ำ -น้ำไหล น้ำนิ่ง -น้ำลึก น้ำตื้น

5 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ดำเนินการ
กลุ่มสหกรณ์การประมงในแต่ละพื้นที่

6 ผลิตพันธุ์และเตรียมพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อปล่อยและแจกจ่ายในพื้นที่เป้าหมาย
ชนิดของสัตว์น้ำ -กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดำ -ปลาชนิดต่าง ๆ ปลากะพงขาว ปลาการ์ตูน -หอย หอยมือเสือ -ปู ปูทะเล ปูม้า ธนาคารปูม้า

7 มีขนาดใหญ่พอที่สัตว์น้ำ สามารถดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติได้
ขนาดของสัตว์น้ำ มีขนาดใหญ่พอที่สัตว์น้ำ สามารถดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติได้ กุ้งทะเล ควรมีอายุไม่น้อยกว่า ระยะ post larva 15 กุ้งกุลาดำ มีความยาวไม่ต่ำกว่า 2 ซ.ม. กุ้งแชบ๊วย มีความยาวไม่ต่ำกว่า 1 ซ.ม. ปลาทะเล ควรมีขนาดไม่น้อยกว่า 1 นิ้ว แข็งแรง ไม่มีบาดแผล ป่วยเป็นโรค ทำให้สัตว์น้ำมีอัตรารอดดีขึ้น

8 ความเค็ม และสัตว์น้ำชนิดอื่นในท้องถิ่น
กุ้งก้ามกรามปล่อยน้ำความเค็ม 30 ppt กุ้งแชบ๊วยปล่อยช่วงน้ำจืด สัตว์น้ำที่ไม่ได้มีถิ่นกำเนิดในบ้านเราก็ไม่ควรนำไปปล่อย

9 จุดที่ปล่อย ต้องเหมาะสมในการดำรงชีวิต
บริเวณที่ปล่อยไม่ควรมีศัตรูของสัตว์น้ำชนิดนั้น ท่าเทียบเรือมีลูกปลาฝูงเยอะ ควรใส่เรือไปปล่อยกลางทะเล

10

11 ควรหลีกเลี่ยง แหล่งท่องเที่ยวบริเวณชายหาด คนเยอะ เช่น หาดบางแสน
บริเวณแหล่งที่มีคลื่นแรง

12 การปล่อยปลาการ์ตูนต้องปล่อยในแนวปะการัง
ปลาที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ต้องฝึกให้อยู่ร่วมกับดอกไม้ทะเลก่อน ฝึกให้รู้จักหลบภัยเมื่อพบสัตว์น้ำอื่น

13 การปล่อยหอยมือเสือต้องใส่ตะกร้าลงไปปล่อยที่พื้นทะเล
Tridacna sp. แนวปะการังหรือโขดหิน เพื่อให้หอยยึดเกาะได้ น้ำใสและมีแสงส่องผ่านไปถึง ระดับความลึกไม่เกิน 20 เมตร มักฝังตัวอยู่ในก้อนปะการัง

14 จากรับบริจาคปูม้าไข่นอกกระดอง จากชาวประมงปูม้า
กิจกรรมธนาคารปูม้า จากรับบริจาคปูม้าไข่นอกกระดอง จากชาวประมงปูม้า  ระยะไข่ที่มีสีเทา หรือเทาปนดำ ใช้เวลาไม่เกิน 2 วัน ปูม้าก็จะปล่อยไข่ นำมาเพาะฟักในถังพร้อมให้อากาศเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับปูม้า  แม่ปูถังละ 1 ตัว

15 วิธีการปล่อย ปรับอุณหภูมิ และความเค็มก่อน เพื่อป้องกันการช็อค
เวลาปล่อยควรเป็นเวลา เช้า หรือเย็น อากาศไม่ร้อน ปรับอุณหภูมิและผสมความเค็ม 5-10 นาที

16 การขนส่ง ระยะทาง ไกลไม่ใส่ลูกพันธุ์หนาแน่น
หลีกเลี่ยงการขนส่งช่วงอากาศร้อน การขนส่งถ้าอากาศร้อนควรใส่ในรถเปิดแอร์ หรือใส่น้ำแข็งลดอุณหภูมิ การขนส่งหอยมือเสือต้องห่อด้วยผ้า เพื่อป้องกันไม่ให้หอยสูญเสียน้ำหรือความชื้น

17 การประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ สัตว์น้ำและการใช้ทรัพยากรประมงอย่างถูกวิธี มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแหล่งน้ำอนุรักษ์และพื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน       

18 สรุป การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานทางวิชาการ - ด้านชีววิทยาสัตว์น้ำและสิ่งแวดล้อม - มีผลต่ออัตรารอดของสัตว์น้ำ ชุมชนต้องช่วยกันดูแล รักษา แหล่งที่อยู่ อาศัย ลูกพันธุ์สัตว์น้ำ - จัดตั้งเป็นเขตอนุรักษ์ - ไม่ให้มีการรบกวน หรือทำการประมงในบริเวณดังกล่าว ก่อให้เกิดผลผลิตสัตว์น้ำที่มีค่าทางเศรษฐกิจ เป็นรายได้แก่ชาวประมงอย่างยั่งยืนต่อไป

19 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt “แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google