งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรณีศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรณีศึกษา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรณีศึกษา

2 การกำหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และ ฐานรากในการจ้างก่อสร้าง
กรณีศึกษา นร.(กวพ) ๑๒๐๔/ว๑๑๕๔๒ ลว ๒ ธ.ค.๒๕๓๙ การกำหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และ ฐานรากในการจ้างก่อสร้าง แนวคิด เพื่อความเป็นธรรม เพื่อป้องกันปัญหาในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง ค่างานในการก่อสร้างฐานราก กำหนดเงื่อนไขในรูปแบบ รายการละเอียดใน การก่อสร้างให้ชัดเจน โดยเฉพาะเสาเข็มที่อาจทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงราคาค่างาน

3 กรณีศึกษา ให้สำรวจและกำหนดปริมาณงานดินถม งานดินตัก ในแบบรูป รายการละเอียดให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง ให้สำรวจสภาพดินในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อกำหนดแบบรูปและ รายการละเอียดในงานฐานรากที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ราคาค่างาน ไม่อาจกำหนดได้ ต้องให้มีทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงรายการฐานรากให้ชัดเจนตั้งแต่ต้นและให้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญา

4 หากจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรายการฐานราก ต้องใช้ข้อ ๑๓๖
กรณีศึกษา หากจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรายการฐานราก ต้องใช้ข้อ ๑๓๖ ตกลงเนื้องาน ราคา ระยะเวลา ที่เปลี่ยนแปลงพร้อมกัน นร.(กวพ) ๑๒๐๔/ว๑๑๕๔๒ ลว ๒ ธ.ค.๒๕๓๙

5 การส่งมอบงาน หนังสือต้องส่งให้ใคร
กรณีศึกษา การส่งมอบงาน หนังสือต้องส่งให้ใคร ผู้ว่าจ้าง ประธานกรรมการตรวจการจ้าง ผู้ควบคุมงาน ส่วนราชการ นร.(กวพ) ๑๓๐๔/๓๓๐๒ ลว ๓ เม.ย.๒๕๔๐ นร.(กวพ) ๑๓๐๕/ว๕๘๕๕ ลว ๑๑ ก.ค. ๒๕๔๔

6 การจ่ายเงินล่วงหน้า (กรณีผู้รับจ้างผิดสัญญา)
กรณีศึกษา การจ่ายเงินล่วงหน้า (กรณีผู้รับจ้างผิดสัญญา) ต้องเรียกคืนจากผู้ค้ำ หากล่าช้าทำให้ทางราชการต้องเสียหาย ต้องดำเนินการทางวินัยหรือทางแพ่ง แนวทางแก้ไข .. เร่งรัด กค ๐๕๐๒/๑๕๓๔๕ ลว ๒๙ เม.ย.๒๕๒๓

7 คุณสมบัติมีความมั่นคงแข็งแรงเทียบเท่าตามสัญญา ผู้รับจ้างยินยอมลดราคา
กรณีศึกษา ก่อสร้างทางเสร็จ แต่เสาไฟฟ้าชนิดกลมผลิตไม่ทัน(ขาดแคลน) ถ้ารอผู้รับจ้างจะถูกปรับหลายวัน จะขอแก้ไขสัญญาเป็นเสาชนิด ๒๐เหลี่ยม เพื่อให้ถนนมีแสงสว่างตามมาตรฐาน จะเป็นการช่วยผู้รับจ้าง ? คุณสมบัติมีความมั่นคงแข็งแรงเทียบเท่าตามสัญญา ผู้รับจ้างยินยอมลดราคา ข้อ ๑๓๖ นร (กวพ) ๑๒๐๔/๕๓๕๙ ลว ๓๑ พ.ค. ๒๕๓๗

8 กรณีศึกษา ค่าปรับ สัญญาซื้อพัสดุ / จ้างทำของ วงเงิน ๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท กำหนดเงื่อนไขการจ่ายเงินเป็น ๓ งวด งวดที่ ๑ เงิน๖๐๐,๐๐๐ บาท งวดที่ ๒ เงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท งวดที่ ๓ เงิน ๗๐๐,๐๐๐ บาท ผิดสัญญาคิดค่าปรับเป็นรายวันอัตราร้อยละ ๐.๑๐ ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบในแต่ละงวด สัญญาสิ้นสุด วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์

9 ข้อเท็จจริง ผู้ขายส่งมอบพัสดุถูกต้องครบถ้วนตามข้อกำหนดในสัญญาในวันที่ ๒๐ มีนาคม คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ทำการตรวจรับพัสดุ ถูกต้องครบถ้วนตามข้อกำหนดในสัญญาในวันที่ ๓๐ มีนาคม

10 คำถาม ท่านเป็นคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะคิดค่าปรับอย่างไร

11 แนวการพิจารณา ผิดสัญญา .. ต้องปรับ .. ต้องแจ้งการปรับ .. ค่าปรับคิดถัดจากวันครบหักเวลาตรวจ .. ต้องสงวนสิทธิเมื่อส่งมอบพัสดุถูกต้อง

12 แนวการพิจารณา งวดที่ 1 = 1,900,000 x 0.10 x = 38,000.- งวดที่ 2 = 1,300,000 x 0.10 x = 26,000.- งวดที่ 3 = 700,000 x 0.10 x = 14,000.-

13 ค่าปรับงวดที่ 1 = วงเงินตามสัญญา x ค่าปรับ x วันผิดนัด 100
แนวการพิจารณา ค่าปรับงวดที่ 1 = วงเงินตามสัญญา x ค่าปรับ x วันผิดนัด ค่าปรับงวดที่ 2 = วงเงินตามสัญญา งวดที่ 2 + งวดที่ 3 x ค่าปรับ x วันผิดนัด 100 ค่าปรับงวดที่ 3 = วงเงินตามสัญญา งวดที่ 3x ค่าปรับ x วันผิดนัด 100

14 กรณีศึกษา ค่าปรับ สัญญาจ้างก่อสร้าง วงเงิน ๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท กำหนดเงื่อนไขการจ่ายเงินเป็น ๓ งวด งวดที่ ๑ เงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท งวดที่ ๒ เงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท งวดที่ ๓ เงิน ๗๐๐,๐๐๐ บาท ผิดสัญญาคิดค่าปรับเป็นรายวันอัตราวันละ 1,900 บาทของราคางานจ้าง ที่ยังไม่ได้รับมอบในแต่ละงวด สัญญาสิ้นสุด วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์

15 ข้อเท็จจริง ผู้รับจ้างส่งมอบงานตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ งวดที่ ๑ ส่งวันที่ ๑๐ มีนาคม งวดที่ ๒ ส่งวันที่ ๓๐ มีนาคม งวดที่ ๓ ส่งวันที่ ๒๐ เมษายน คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทำการตรวจรับการจ้างถูกต้องตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญาในสัญญาในวันที่ ๑๐ พฤษภาคม

16 คำถาม ท่านเป็นคณะกรรมการตรวจการจ้าง จะคิดค่าปรับอย่างไร

17 แนวการพิจารณา ผิดสัญญา .. ต้องปรับ .. ต้องแจ้งการปรับ .. ค่าปรับคิดถัดจากวันครบหักเวลาตรวจ .. ต้องสงวนสิทธิเมื่อส่งมอบงานจ้างถูกต้อง

18 งวดที่ 1 = 1,900 x 51 = 96,000.- งวดที่ 2 = 1,900 x 20 = 38,000.-
แนวการพิจารณา งวดที่ 1 = 1,900 x = 96,000.- งวดที่ 2 = 1,900 x = 38,000.- งวดที่ 3 = 1,900 x = 38,000.-

19 งวดที่ 1 = ค่าปรับ x วันผิดนัด
แนวการพิจารณา งวดที่ = ค่าปรับ x วันผิดนัด งวดที่ 2 = ค่าปรับ x วันผิดนัด(ถัดส่งงานงวดที่ 1 – งวดที่ 2) งวดที่ 3 = ค่าปรับ x วันผิดนัด(ถัดส่งงานงวดที่ 2 – งวดที่ 3)


ดาวน์โหลด ppt กรณีศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google