ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา
D-I-A-L-O-G-U-E ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา การสนทนาอย่างมีสมาธิ
2
ไดอะล็อค สนทนาที่เป็นการพูดคุยกันภายในกลุ่มเพื่อสร้างความรู้ กระบวนการเชื่อมโยงความคิดที่กระจายอยู่ ให้เกดพลัง สำรวจเข้าไปในความคิด ความรู้สึก ความเชื่อ เปิดรับความรู้สึกของทุกคน
3
แก่นแท้ของสุนทรียสนทนา
ละวางภาพลักษณ์ อำนาจ การรอบงำ ตระหนักต่อจุดยืนอื่น-ต่อการเข้าถึงได้ไม่หมด Deep listening ฟังอย่างลึกซึ้ง นอก/ใน Respecting เคารพ ปันพื้นที่สำหรับมุมมองที่หลากหลาย ไม่ก้าวก่ายการปกป้องความแม่นยำและเหมาะสม สมดุล/ ผ่อนคลาย Suspending ทดแขวนการตรวจสอบสมมุติฐาน ชะลอสิ่งที่ตัดสินใจไว้แล้วล่วงหน้า เพื่อมองหาข้อมูลจากหลายมุม Voicing เปิดเผยเสียงภายใน ปิ้งฉับพลัน เท่าทันกรอบความคิดที่เชื่อว่าจริง ความรู้สึก ความคิด หลากหลาย แสดงตน สมรรถภาพใหม่
4
กระบวนการไดอะล็อค
5
สุนทรียสนทนา (Dialogue)
เริ่มที่หน่วยงาน และขยายวง กติกา : เปิดใจ รับฟัง ร่วมคิด
6
กระบวนการกลุ่ม ผู้เข้าร่วม ไม่จำกัดจำนวน
ผู้เข้าร่วม ไม่จำกัดจำนวน หัวข้อ เรื่องใดก็ได้ที่อยู่ในความสนใจ ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 2 ชม. กติกา ไม่พูดแซง - ไม่ผูกขาด - ควรเว้นช่วง - ไม่เริ่มโดยมีจุดมุ่งหมายหรือข้อสรุป
7
ฟังอย่างไรจะได้ยิน ?
8
สังคมไทยเป็นแบบไหน ? พูด > ฟัง ฟัง > พูด ไม่ฟังใคร
พูด > ฟัง ฟัง > พูด ไม่ฟังใคร ฟังแล้วตีความหมายผิด
9
ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง ฟังเงียบๆไม่มีปฏิกิริยาใด
ประเภทของผู้ฟัง ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง ฟังเงียบๆไม่มีปฏิกิริยาใด ฟังตลอด แต่ไม่ยินดียินร้ายกับอารมณ์ที่มาเร้า ฟังอย่างตั้งอกตั้งใจปราศจากอคติ
10
ภายนอก VS ภายในตัวผู้ฟัง
“อุปสรรคการฟัง” ภายนอก VS ภายในตัวผู้ฟัง
11
ทฤษฎีตัว U ของ Otto Scharmer
กิเลส (1) รับรู้ พูดเปรี้ยง ทำเปรี้ยง (2)แขวนไว้ก่อน พูดและทำด้วยปัญญา พิจารณา อย่างสงบ มีสติ ปัญญา อดีต – ปัจจุบัน - อนาคต
12
อุปสรรคภายนอกของการฟัง
ผู้พูด ผู้ร่วมฟัง สิ่งแวดล้อม
13
อุปสรรคภายในของการฟัง
ใจลอย ฝันกลางวัน คิดว่าตนเองเป็น ศูนย์กลางของโลก ความสนใจแคบ ชอบขัดชอบแทรก สนใจรายละเอียดไม่สนใจแก่นของเรื่อง
14
อุปสรรคภายในของการฟัง
เลือกได้ยินเฉพาะสิ่งที่ต้องการได้ยิน อยู่ในท่าที่ไม่เอื้อต่อการฟัง ไม่ฟังสิ่งที่เข้าใจยาก อารมณ์เร้าความรู้สึกจนทำให้การฟังไม่ได้ยิน วิตกจริต
15
ทัศนคติกับอารมณ์ข่มเสียงพูด
ทัศนคติและอารมณ์มีผลต่อประสิทธิภาพ ของการฟัง
16
การรับรู้และการเข้าถึงจิตใจผู้พูดเป็นการฟัง ในระดับสูงแสดงได้จาก
แสดงการรับรู้อย่างแน่ชัด - ความหมายของคำ - ข้อความเป็นรหัส 2. การเข้าถึงจิตใจของผู้พูด - แสดงให้ผู้พูดรู้ว่าเราต้องการเข้าถึงจิตใจเขา - สะท้อนความรู้สึกผู้พูดกลับไปให้เขาเห็น - แสดงอากัปกริยา แนวเดียวกับผู้พูด
17
การแสดงความประสงค์ว่าต้องการเข้าใจผู้พูดอย่างแท้จริง
พูดคุยเรื่องที่สำคัญต่อเขา ไม่เปลี่ยนเรื่องพูด ไม่ขัดจังหวะ หากต้องการชัดในประเด็นควรถาม และเจาะลงลึกในรายละเอียด
18
พัฒนาการฟังจากบันได 6 ต.
19
บันได 6 ต. 6. ติดตาม 5. ตามค่า 4. ตีความ 3. ตรงตรง 2. ตรวจตรา
บันได 6 ต. 6. ติดตาม 5. ตามค่า 4. ตีความ 3. ตรงตรง 2. ตรวจตรา 1. ตระเตรียม
20
1.ตระเตรียม เตรียมตัวก่อนประชุม - พักผ่อนให้พร้อม
- พักผ่อนให้พร้อม - ศึกษาข้อมูลก่อนประชุม - เลือกที่นั่งใกล้ผู้พูด - คาดสถานการณ์ล่วงหน้า - ปิดมือถือ/ไม่รับ Tel เมื่อสนทนา
21
2. ตรวจตรา - ฟังอย่างถี่ถ้วน “หู ตา จมูก กายใจ” มองผู้พูด สังเกตผู้พูด
22
- สร้างความรู้สึกว่าเรามีอารมณ์อย่างเดียวกับผู้พูด
3. ตรงตรง - สร้างความรู้สึกว่าเรามีอารมณ์อย่างเดียวกับผู้พูด 4. ตีความ - ถ้าไม่แน่ใจให้ผู้พูดอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ไม่แน่ใจ
23
5. ตามค่า / ประเมินค่าของเรื่องที่ฟัง
“คนเรามักด่วนสรุปก่อนที่จะเข้าใจอย่างถ่องแท้”
24
6. ติดตาม ทำให้เกิดความไว้วางใจและความเชื่อมั่นต้องแสดงให้ได้ว่า เราเก็บความลับได้ ? ผู้พูดสำคัญที่สุด
25
ฟังแล้วก็ถาม? การฟังที่ดีต้องรู้จักถามไม่ควรนั่งเงียบ!
26
คำถามประกอบการฟังที่ดี
1. คำถามปลายเปิด What ? How ? Why ?
27
2. คำถามปลายปิด ใช้เมื่อต้องการข้อมูลเฉพาะเจาะจงและต้องการปิดประเด็น “ใช่หรือไม่”
28
3. คำถามสรุปทวนความ ใช้เมื่อต้องการตรวจสอบความเข้าใจ
3. คำถามสรุปทวนความ ใช้เมื่อต้องการตรวจสอบความเข้าใจ ดิฉันเข้าใจว่า ... อย่างนี้ใช่ไหมค่ะ ?
29
4. คำถามสมมติ ใช้ถามเมื่อต้องการความคิดใหม่จากผู้พูด เช่น
4. คำถามสมมติ ใช้ถามเมื่อต้องการความคิดใหม่จากผู้พูด เช่น จะเกิดอะไรขึ้นหากใช้น้ำยาที่เข้มข้น จะเกิดอะไรขึ้นถ้า ?
30
5. คำถามตรวจสอบความรู้สึกของผู้พูด
5. คำถามตรวจสอบความรู้สึกของผู้พูด เพื่อหาความหมายที่แฝงมาในคำพูด เช่น คุณคิดอย่างไรกับกระบวนการดูและผู้ป่วยรายนี้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.