งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

2 การตัดสินใจจ้างงานในระยะยาว
ในระยะยาว ปริมาณของสินค้าทุน และ แรงงาน เปลี่ยนแปลงได้ หน่วยผลิตจะแสวงหากำไรสูงสุดโดย เลือกส่วนผสมระหว่างแรงงาน และ ทุน: จะจ้างคนงานกี่คน จะลงทุนในโรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ เป็นจำนวนเท่าไหร่

3 Isoquants – ฟังชั่นการผลิต
ส่วนผสมต่างๆ ของแรงงาน และ ทุน ที่เป็นไปได้ ในการที่จะ ได้มาซึ่งผลผลิตระดับหนึ่ง Isocosts – ต้นทุนการผลิต ส่วนผสมของแรงงานและทุนที่หน่วยผลิตจะซื้อได้ ด้วย ค่าใช้จ่ายระดับหนึ่ง

4

5

6

7 เส้นอุปสงค์แรงงาน ในระยะยาว
หน่วยผลิต ผลิตในระดับที่จะให้กำไรสูงสุด qo คือ ระดับที่ ผลผลิต เท่ากับ ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (marginal cost) ผลิตให้ต้นทุนต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สัดส่วนของ marginal products = สัดส่วนของ input prices ในระยะยาว เมื่อค่าจ้างเปลี่ยน เกิดอะไรขึ้นต่ออุปสงค์ของหน่วยผลิต ต่อแรงงาน? หน่วยผลิตถูกจำกัดโดย เทคโนโลยี ราคาของผลผลิต และ ราคาของปัจจัยการผลิต

8

9 เส้นอุปสงค์แรงงาน ในระยะยาว
จากทฤษฎีการแสวงหากำไรสูงสุด หลังจากค่าจ้างเปลี่ยน หน่วยผลิตจะพยายามทำให้ค่าใช้จ่ายอยู่ใน ระดับเดิมหรือไม่? ไม่จำเป็นเสมอไป ถ้าค่าจ้างลดลง จะกระตุ้นให้หน่วยผลิตขยายปริมาณการผลิตออกไป  ต้นทุนไม่จำเป็นต้องอยู่ในระดับเดิม เมื่อค่าจ้างลดลง หน่วยผลิตจะจ้าง แรงงาน เพิ่มขึ้นเสมอ แต่สำหรับ ทุน นั้น อาจจะใช้มากขึ้น หรือไม่ก็ได้

10

11

12 เส้นอุปสงค์แรงงานในระยะยาว จะลาดลงเสมอ
ค่าจ้างลดลง  scale effect และ substitution effect Scale effect กระตุ้นให้หน่วยผลิตขยายออก การจ้างงานจะเพิ่มขึ้น Substitution effect  หน่วยผลิตใช้วิธีการผลิตที่ใช้แรงงาน เข้มข้น ในระยะยาว หน่วยผลิตจะใช้ประโยชน์จากการที่ค่าจ้างเปลี่ยน และ ปรับ ทั้งระดับการจ้างงาน และ การใช้ปัจจัยทุน เส้นอุปสงค์แรงงานในระยะยาวจะมีความยืดหยุ่นมากกว่าเส้นอุปสงค์ แรงงานในระยะสั้น

13

14

15 กฎของมาร์แชลเกี่ยวกับอุปสงค์ต่อเนื่อง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ Elasticity of Substitution เส้น isoquant และขนาดของ substitution effect Elasticity of Demand for Product เมื่อค่าจ้างเพิ่ม  ราคาผลผลิตจะสูงขึ้น  ลดอุปสงค์ของ ผู้บริโภค สัดส่วนของต้นทุนแรงงานในต้นทุนทั้งหมด จะเพิ่มขึ้น การผลิตแบบที่ใช้แรงงานเข้มข้นจะถูกกระทบมาก Elasticity of supply for other inputs เช่น ทุน ราคาสินค้าทุนเพิ่มมากแค่ไหน เมื่อมีการซื้อสินค้าทุนมากขึ้น

16

17 ดุลยภาพในตลาดแรงงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงงานและหน่วยผลิต
ระดับค่าจ้างและการจ้างงานที่สร้างความสมดุลระหว่าง จำนวนชั่วโมง ที่แรงงานเต็มใจจะทำงาน จำนวนแรงงาน – ชั่วโมงที่หน่วยผลิตต้องการจะจ้าง ณ ค่าจ้างสูงกว่าดุลยภาพ จะมีแรงงานส่วนเกิน แรงงานจะแข่งขัน แย่งงานกัน  กดดันให้ค่าจ้างลดลง ณ ค่าจ้างต่ำกว่าดุลยภาพ แรงงานขาดแคลน นายจ้างจะแข่งขัน แย่งคนงานที่มีอยู่น้อย  กดดันให้ค่าจ้างเพิ่มขึ้น

18


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google