ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คำราชาศัพท์
2
ความหมายของราชาศัพท์
หมายถึง ถ้อยคำสุภาพไพเราะที่ใช้ให้เหมาะกับฐานะของ บุคคลในสภาพสังคมไทย ซึ่งถือหลักแบ่งตามวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ได้แก่ ๑.พระมหากษัตริย์ และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ๒.พระบรมวงศานุวงศ์ (พระบรมวงศ์ และพระอนุวงศ์) ๓.พระภิกษุสงฆ์ ๔.ขุนนาง ข้าราชการ ๕.สุภาพชน
3
๑.พระมหากษัตริย์ และ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
๑.พระมหากษัตริย์ และ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ใช้คำราชาศัพท์ชั้นสูงสุดเสมอกัน ยกเว้นคำว่า “พระบรม” ใช้กับ พระมหากษัตริย์พระองค์เดียว
4
พระบรมวงศ์ (เจ้าชั้นสูง) พระอนุวงศ์ (เจ้าชั้นรอง)
๒. พระบรมวงศานุวงศ์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระบรมวงศ์ (เจ้าชั้นสูง) พระอนุวงศ์ (เจ้าชั้นรอง)
5
สมเด็จพระบรมราชกุมารี
พระบรมวงศ์ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมราชกุมารี
6
พระบรมวงศ์ (เจ้าชั้นสูง)ในปัจจุบัน
สมเด็จพระยุพราช (สยามมกุฎราชกุมาร) สมเด็จพระบรมราชกุมารี
7
พระอนุวงศ์ สมเด็จเจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี สมเด็จพระเชษฐภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตน์ราชสุดาสิริโสภาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า และ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า (ทรงกรม) พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า (ที่มิได้ทรงกรม) หม่อมเจ้า
8
พระอนุวงศ์ สมเด็จเจ้าฟ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอ
9
พระอนุวงศ์ พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า
10
๓.พระภิกษุสงฆ์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า สมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะ
พระสงฆ์ทั่วไป
11
๔. ขุนนางและข้าราชการ ประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร
รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สุภาพชนหรือบุคคลทั่วไป
12
๕. สุภาพชน
13
การใช้ราชาศัพท์ที่ควรทราบ
14
๑. การใช้นามราชาศัพท์ คำว่า “พระบรม พระราช พระ”
15
การใช้นามราชาศัพท์ พระบรมราชโองการ พระบรมราโชวาท พระบรมราชินีนาถ
พระราช พระราชธิดา พระราชทรัพย์ พระราชกรณียกิจ พระ พระภคินี พระหทัย พระโอสถ
16
การใช้นามราชาศัพท์ ไม่ใช้ พระราชเสาวนีย์ พระราชวโรกาส พระราชนิพนธ์
พระบรม ไม่ใช้ พระราช พระราชเสาวนีย์ พระราชวโรกาส พระราชนิพนธ์ พระ พระนัดดา พระสุคนธ์ พระหัถต์
17
สมเด็จพระบรมราชกุมารี
การใช้นามราชาศัพท์ สมเด็จพระยุพราช พระราช พระ สมเด็จพระบรมราชกุมารี
18
(เจ้าชั้นรองทุกพระองค์)
การใช้นามราชาศัพท์ (เจ้าชั้นรองทุกพระองค์) พระอนุวงศ์ พระ
19
๒.การใช้คำกริยาราชาศัพท์ คำว่า “ทรง”
นำหน้าคำกริยาสามัญ ทรงแนะนำ ทรงตักเตือน ทรงจับ ทรงศึกษา นำหน้าคำนามสามัญ ทรงม้า ทรงรถ ทรงขลุ่ย ทรงเรือใบ ทรงแซกโซโฟน คำกริยาราชาศัพท์ นำหน้า ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระนิพนธ์ ทรงพระอักษร
20
หมายเหตุ คำที่เป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ใช้ทรงนำหน้า เช่น เสด็จ เสด็จฯ เสวย โปรด ประทับ ฯลฯ คำว่าผนวช เป็นกริยาราชาศัพท์ แต่นิยมใช้ทรงนำหน้า (ทรงผนวช) คำว่า พระราชทาน แปลว่า ให้ เป็นคำกริยาราชาศัพท์ ใช้ทรงนำหน้าไม่ได้ คำว่า “เป็น” กับคำว่า “มี” จะไม่ใช้ทรงนำหน้าถ้าคำที่ตามหลังเป็นคำราชา ศัพท์ เช่น มีพระบรมราชโองการ มีพระราชดำริ เป็นพระราชโอรส ฯลฯ และใช้ทรงนำหน้าได้ถ้าคำที่ตามหลังเป็นคำสามัญ เช่น ทรงเป็นผู้นำ ทรงเป็นมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทย ฯลฯ คำว่า เข้า ออก ขึ้น ลง จะใช้ “เสด็จ” นำหน้า ไม่ใช้ “เสด็จฯ”
21
๓.การใช้คำกริยาราชาศัพท์ “เกิด ตาย ให้”
บุคคล เกิด ตาย ให้ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงพระราชสมภพ สวรรคต พระราชทาน สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมราชกุมารี ทิวงคต สมเด็จเจ้าฟ้า (อัครราชกุมารี) สมเด็จเจ้าฟ้า ประสูติ สิ้นพระชนม์ ประทาน เจ้าชั้นรององค์อื่นๆ สมเด็จพระสังฆราช หม่อมเจ้า สิ้นชีพตักษัย ถึงชีพิตักษัย
22
๔.การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามสำนวนไทย
ใช้ “เฝ้าฯ รับเสด็จ” (เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ) ไม่ใช้ว่า “ถวายการต้อนรับ” เพราะเป็นสำนวนต่างประเทศ ใช้ “แสดงความจงรักภักดี” “มีความจงรักภักดี” ไม่ใช้ว่า “ถวายความจงรักภักดี” เพราะเป็นสำนวน ต่างประเทศเช่นเดียวกัน
23
๕. การใช้ราชาศัพท์ตามเหตุผล
คำว่า “อาคันตุกะ” หมายถึง แขกเมือง “ราชอาคันตุกะ” หมายถึง แขกเมืองของพระราชา “พระราชอาคันตุกะ” หมายถึง พระราชาที่เป็นแขกเมืองของ พระราชา “ทูลเกล้าฯ ถวาย” หมายถึง ถวายของเล็ก ของที่มีน้ำหนักเบา “น้อมเกล้าฯ ถวาย” หมายถึง ถวายของใหญ่ ของหนัก ร้านจักษุการแว่น ทูลเกล้าฯ ถวาย
24
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.