งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
ผู้ชายคนไหนที่คุณอยากได้เป็นแฟน ? ผู้ชายคนไหนที่คุณชอบ ?

3 การคัดเลือก คือ การที่สัตว์บางตัวมีโอกาสมีชีวิตรอดเพื่อสืบพันธุ์และถ่ายทอดพันธุกรรมไปยังรุ่นต่อๆไป ในขณะที่สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้ง (culling)

4 การคัดเลือกแบ่งเป็น 2 รูปแบบ
ปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ ปรับตัวเข้ากับธรรมชาติไม่ได้ ก็ไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ 1) Natural Selection Charles Robert Darwin

5 ตัวอย่างสัตว์ที่ปรับตัวในสภาพธรรมชาติได้ยาก

6 Natural selection ยังรวมถึงทฤษฏี used and disused
Use and disuse Jean-Baptiste Lamarck

7 2. Artificial selection

8 หลักพื้นฐานของการคัดเลือกพันธุ์สัตว์
Selection Natural selection Artificial selection (เรียนในวิชานี้) Et + Ep P = G + E A + D + I EBV (estimated breeding value) Selection response

9 แผนการคัดเลือกสามารถแบ่งได้เป็น 3 วิธี
1. Tandem method (การคัดเลือกทีละลักษณะ) Egg production, AFE, ADG, FCR ADG, FCR NBA, LSY, %PWM Milk yield, Conception rate, Type trait

10 แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นครั้งละลักษณะ หลังจากทำการคัดเลือกจนได้ลักษณะตามที่ต้องการแล้วจึงเปลี่ยนไปคัดเลือก ลักษณะอื่น อาจพบปัญหาหากลักษณะที่นำมาคัดเลือกมีค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใน การลบ (negative genetic correlation) ส่งผลให้การคัดเลือกลักษณะต่อมาไปทำให้ลักษณะก่อนกลับแย่ลง

11 แผนการคัดเลือก Tandem Method เปอร์เซ็นไขมันน้ำนม ปริมาณน้ำนม
(ระหว่างลักษณะมีความสัมพันธ์ในเชิงลบ)

12 ผมเองครับที่จะถูกคัดเลือก…
แผนการคัดเลือก 2) Independent Culling Level Pig ADG (<4.0) BF (<1.2) NBA (>9.5) 001 3.5 1.0 8 002 3.6 1.3 12 003 3.9 1.2 10 Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive ผมเองครับที่จะถูกคัดเลือก…

13 แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 2) Independent Culling Level
 เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ  ต้องกำหนดเกณฑ์หรือสัดส่วนที่จะทำการคัดเลือกของแต่ละลักษณะก่อน ล่วงหน้า  ได้เปรียบกว่าวิธี Tandem เนื่องจากแต่ละลักษณะไม่มีความสัมพันธ์กัน  ฝูงสัตว์จะถูกปรับปรุงพันธุ์ถึงมาตรฐานที่กำหนดได้เร็วกว่าปรับปรุงทีละ ลักษณะช่วยให้สามารถคัดเลือกได้อย่างสอดคล้องไปกับสภาพของฝูงสัตว์ (biological stage) เช่น เริ่มคัดสัตว์จากลักษณะ BW  WW  reproductive traits selection

14 แผนการคัดเลือก 3) Selection Index Pig ADG (<4.0) BF (<1.2)
NBA (>9.5) “Score”(5) 001 3.5 1.0 8 4.16 002 3.6 1.3 12 5.63 003 3.9 1.2 10 5.03 Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive

15 แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 3) Selection index
เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ เรียกว่าเป็นสมการ Multiple regression สร้างเป็นสมการที่ประกอบด้วยข้อมูลของลักษณะต่างๆ (Yi) ที่ต้องการ คัดเลือกจากนั้นจึงนำสัตว์มาเรียงลำดับเพื่อตัดสินใจอีกทีหนึ่ง

16 ดัชนีการคัดเลือก รูปแบบสมการในปัจจุบัน = ค่าทางเศรษฐกิจ economic value
= ค่าการผสมพันธุ์

17 ข้อดีของดัชนีการคัดเลือก
มีความแม่นยำของการประเมินสูงสุด เนื่องจากมีการคิดค่าความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีที่ประเมินกับพันธุกรรมหรืออิทธิพลของยีนแบบบวกสะสม Error ต่ำสุด เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์ที่ใช้ ประเมินโดยวิธีความ คลาดเคลื่อนกำลังสองน้อยที่สุด (least square analysis)

18 ข้อจำกัดของดัชนีการคัดเลือก
ต้องอาศัยข้อมูลครบทุกลักษณะเสียก่อนจึงจะประเมินค่าดัชนีของสัตว์นั้นๆได้ ไม่สามารถเปรียบเทียบพันธุกรรมของสัตว์ข้ามฝูงหรือข้ามกลุ่มการจัดการได้ ไม่มีการปรับปัจจัยอื่นๆที่อาจมีผลต่อความผันแปรของลักษณะ เช่น อายุแม่ ระยะการให้นม เพศ เป็นต้น

19 ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก
ID EBV(BF) EBV(Days to estrus) EBV(ADG) 1 -0.03 2.88 1.01 2 -0.02 -3.62 0.65 3 -0.01 3.55 0.40 กำหนดให้ค่าทางเศรษฐกิจ (v) ดังนี้ BF = -20, Days = -5, ADG = 10 วิธีการคำนวณ I = v1EBV1+ v2EBV2+ v3EBV3 ลองคำนวณดูซิว่าสัตว์ตัวไหนที่น่าจะถูกคัดเก็บไว้จ๊ะ….

20 ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก
สัตว์เบอร์ 1 สัตว์เบอร์ 2 ผมเองครับ สัตว์เบอร์ 3


ดาวน์โหลด ppt Http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google