งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาท อสม. และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขตพื้นที่ภาคเหนือ

2 ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
น้ำไหล – เส้นทางเดินน้ำ ท่วมซ้ำซาก ท่วม 2-3 วัน น้ำท่วมขัง – ที่ลุ่ม ท่วมนาน

3 P: Preparedness - การเตรียมความพร้อม
สรุปบทเรียน – วิเคราะห์สภาพปัญหา แนวทางของพื้นที่ การซ้อมแผน – กำหนดกิจกรรมและบทบาทภาคี (ปชช., ราชการ, อปท., สื่อมวลชน) การสำรองยา / เวชภัณฑ์ – จัดชุดยาสามัญประจำบ้านและยาที่จะใช้ การเตรียมภาคประชาชน – ระบบข้อมูลข่าวสาร ช่องทางการสื่อสาร การแจ้งเตือน ความรู้และวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัย

4 P: Prevention - การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวัง – ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง, ตามระบบ/โครงสร้างราชการและท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว ข้อมูล – ปริมาณน้ำ, สภาพอากาศ, ความเสี่ยง และความเคลื่อนที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารและการแจ้งเตือนภัย – สวท., โทรศัพท์, วิทยุชุมชน, หอกระจายข่าว แต่งตั้งคณะทำงาน - กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

5 R: Reaction - การช่วยเหลือ
ระบบการช่วยเหลือ – โดยใช้สื่อท้องถิ่นและสวท.แจ้งข่าวสารและความต้องการ การให้ความช่วยเหลือ ชมรม / สมาคมอสม. เข้าถึงพื้นที่, เครือข่ายแจ้งภัยระดับหมู่บ้าน, ระดมเงินและสิ่งของ, เรี่ยไร / ขอสนับสนุนจากแหล่งทุน / เครือข่าย ศูนย์วิชาการ – สนับสนุนสิ่งของเครื่องใช้, ประเมินและฟื้นฟูจิตใจ สิ่งของ เครื่องใช้ในยามประสบภัย – อาหารแห้ง, ยา, ไฟฉาย, เทียนไข, เรือ, ชูชีพ, รองเท้าบูท

6 R: Recovery - การฟื้นฟู
การประเมินและฟื้นฟูจิตใจ ขวัญกำลังใจ – เงิน, สิ่งของเครื่องใช้ ที่พักพิงและอุปกรณ์ดำรงชีพ การเยี่ยมเยือน ประสานงาน – ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้อง

7 ประสบการณ์ทำให้เกิดการเรียนรู้
ความเดือดร้อนแตกต่างกัน : ความต้องการความช่วยเหลือก็ต่างกัน ลักษณะภัยต่างกัน : การเตรียมพร้อมก็ไม่เหมือนกัน ความช่วยเหลือไม่เหมาะสม(มากไป น้อยไป ไม่ตรงความต้องการ ไม่ทันเวลา ขาดการจัดการที่ดี) : เป็นการซ้ำเติมความทุกข์ การจัดการตนเองและระบบเครือข่ายในพื้นที่ จะสร้างความพึงพอใจได้มากกว่า

8 ความต้องการสนับสนุนจากส่วนกลาง
กองทุนสวัสดิการ อสม. (ไม่ติดระเบียบราชการ) ยา / เวชภัณฑ์ / งบประมาณ ให้ อสม.ไปดูแลประชาชน เรือ / เสื้อชูชีพ / รองเท้าบูท / วิทยุสื่อสาร ให้ระดับหมู่บ้าน ชุดผลิตน้ำดื่มในภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมฟื้นฟูจิตใจ / ความบันเทิงระหว่างประสบภัย กองทุนช่วยเหลือ(เฉพาะด้าน) จากศูนย์ / กอง สช.ฯ การซ้อมแผน : ปรับเรื่องไข้หวัดฯ เป็นเรื่อง “ภัยสุขภาพ” สนับสนุนการตั้งเครือข่ายระดับพื้นที่ (หมู่บ้าน-ภาค) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลสภาพน้ำ ความต้องการฯ และประสานงานกับโครงสร้างภาครัฐที่มีอยู่แล้ว

9 ขอขอบคุณที่ให้ความสนใจ


ดาวน์โหลด ppt ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google