ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLucie Beránková ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์การระบาด สัปดาห์ที่ 5 (1-7 กุมภาพันธ์ 2553)
สถานการณ์การระบาด สัปดาห์ที่ 5 (1-7 กุมภาพันธ์ 2553) เรียนท่านอธิบดี และอาจารย์ผู้ เข้าสู่ ระลอกที่ ๒ ของการระบาดแล้ว สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค National Trustworthy and Competent Authority in Epidemiological Surveillance and Investigation 1
2
แพร่ระบาดใน 208 ประเทศ ผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 13,554 คน
World Health Organization 9 December 2019 การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (เอ็ช1 เอ็น1) 2009 แพร่ระบาดใน 208 ประเทศ ผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 13,554 คน ตั้งแต่ เมษายน มกราคม 53 การระบาดระลอกสองเริ่ม กันยายน 52 (ก่อนฤดูหนาว) 11 October 2009: Over cases and at least deaths 195 COUNTRIES AFFECTED Since 16 July, WHO is not reporting cases daily. Figures do not represent total numbers of cases as many countries have ceased reporting case counts and others selectively test severe cases. (WHO recommendations 16 July 2009) การระบาด เพิ่มหรือลด ในบางประเทศ การระบาดระลอกหนึ่ง ลดลง 2 2
3
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ประเทศไทย
3 พ.ค ม.ค.53 ผู้ป่วยที่ยืนยันผลทางห้องปฎิบัติการ 30,588 คน ผู้เสียชีวิต 198 คน
4
จำนวนผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ในประเทศไทย
3 พ.ค ม.ค.53 ขณะนี้เริ่มเข้าสู่การระบาดระลอกสองแล้ว ส่งครวจยืนยันเทุกราย ส่งครวจยืนยันตามข้อบ่งชี้ แผนภาพแสดงจำนวนผู้ป่วยในประเทศไทยตั้งแต่ 3 พ.ค.- 29 ธ.ค.52 พบว่ามี ๒ ช่วง คือช่วง พค ถึงกันยายน และตั้งแต่ตุลาคมเป็นต้นมา ด้านขวาล่างในช่องสีเขียวแสดงช่วงเวลาที่น่าจะเป็นการระบาดในรอบที่สอง 5 สัญญานเตือนระลอกใหม่ ส่งครวจยืนยันเพื่อค้นหาการระบาด 20 1 พย 52 ถึงปัจจุบัน ผู้ป่วยยืนยัน = 30,588 คน
5
5 สัญญาณการระบาดใหม่ (รอบ 2)
แนวโน้มพบไข้หวัดใหญ่เพิ่มขึ้น ร้อยละของผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่และผู้มารับบริการที่โรงพยาบาลเพิ่มขึ้น หลายจุดเพิ่มสูงกว่าร้อยละ10 การเฝ้าระวังโดยจุดสังเกต 13 โรงพยาบาล (Sentinel Surveillance) ในกลุ่มผู้ป่วยนอกที่มีอาการไข้หวัดใหญ่ พบผลบวกเพิ่มจากร้อยละ 6 (ธค.52 ) เป็นร้อยละ 12.6 (22 % Feb 2010) และในกลุ่มผู้ป่วยใน มีค่าเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ ๒๕ มีการระบาดเป็นกลุ่ม (Clusters of outbreaks) อย่างต่อเนื่องหลายสัปดาห์ มากกว่า 20 ครั้ง (ในระยะ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา) พบการระบาดอยู่ในระดับพื้นที่ อำเภอ ตำบล และมักจะมีการระบาดรุนแรงในพื้นที่ที่พบการระบาดใหม่ มีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง จากสัปดาห์ละ 0-1 ราย ในเดือน พย.-ธค.52 เพิ่มเป็น 2-4 รายต่อสัปดาห์ในปัจจุบัน จำนวนผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง (เสียชีวิตหรือป่วยเป็นปอดอักเสบ) บางส่วนยังเข้าถึงบริการหรือได้รับการบริการล่าช้า โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท
6
สถานการณ์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 สัปดาห์ที่ 5/53 ประเทศไทย
จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสม 31,902 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ในสัปดาห์ที่ ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตสะสม ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตในสัปดาห์ที่ 5 3 ราย รายงานการระบาดเป็นกลุ่มก้อน 10 กรณี 6
7
จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009
รายใหม่ประจำสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 52/2552-5/2553 จำนวนผู้ป่วย(คน) สัปดาห์ 7
8
ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 เสียชีวิต สัปดาห์ ที่ 5/53
รายที่ 199 เด็กชาย อายุ 7 ปี อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร Underlying cerebral palsy and malnutrition เริ่มป่วย 29 ม.ค. >>> admitted 30 ม.ค.>>> died 1 ก.พ. Started oseltamivir 30 ม.ค. รายที่ 200 เด็กหญิง อายุ 5 ปี เขตปทุมวัน กทม. Underlying congenital heart disease with asthma เริ่มป่วย 21 ม.ค. >>> admitted 23 ม.ค.>>> died 3 ก.พ. Started oseltamivir 25 ม.ค. 8
9
ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 เสียชีวิต สัปดาห์ ที่ 5/53 (ต่อ)
รายที่ 201 หญิง อายุ 27 ปี เขตวังทองหลาง กทม. Underlying heart disease (atrail septal defect) เริ่มป่วย 3 ก.พ. >>> admitted 5 ก.พ..>>> died 5 ก.พ. Started oseltamivir 5 ก.พ. ทั้งสามรายไม่ได้รับ PDM H1N1 vaccine 9
10
รายงานการะบาดเป็นกลุ่มก้อน สัปดาห์ที่ 5/53
จังหวัดที่มีรายงานการระบาด แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำปาง ยโสธร สะบุรี นครปฐม กทม.
11
สถานการณ์ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ รายจังหวัด (ต่อ)
33 อำเภอ ใน 23 จังหวัด พบ ILI มากกว่า 10% ของจำนวนผู้ป่วยนอก กระบี่ กาญจนบุรี กำแพงเพชร ชุมพร เชียงราย ตาก นราธิวาส น่าน ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา พัทลุง พิจิตร แพร่ ภูเก็ต ลำปาง สตูล สมุทรปราการ สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี อุบลราชธานี 876 อำเภอ 10% = 33 5% = 153 น้อยกว่า5% = 74 ขาดข้อมูล=616 = ILI มากกว่า 10%(n=33) = ILI 5-10% (n=153) = ขาดข้อมูล หรือ ILI น้อยกว่า 5% 12
12
สถานการณ์ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ รายจังหวัด สัปดาห์ที่ 5/53 (31 ม
สถานการณ์ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ รายจังหวัด สัปดาห์ที่ 5/53 (31 ม.ค.-6 ก.พ) รายงานสัดส่วนผู้ป่วย ILI ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดในแต่ละวัน ผ่าน webpage หรือ SMS สัปดาห์ละครั้ง เริ่มเก็บข้อมูลระบบใหม่ 3 ม.ค. 2553 ระบบเฝ้าระว้งกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล รายงานสัดส่วนผู้ป่วย ILI ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดในแต่ละวัน ข้อมูลรายวัน ส่งทุกสัปดาห์ โดยทาง internet เข้า สำนักระบาด or SMS เบอร์ 1677 และใช้ sim card เฉพาะ เริ่มข้อมูล 3/1/10 รายงาน 11/1/10 เก็บตั้งแต่ รพ.อำเภอ รพ.จังหวัด รวมทั้ง รพ.เอกชน แล้วแต่จังหวัดจะลงทะเบียน ยังไม่รวม กทม. ขณะนี้ ลงทะเบียน 743 โรง รพ.ที่เกิน 5% รพ.,สสจ. และ สคร.จะได้รับสัญญาณเตือน ถ้าเกิน 10% จะได้รับสัญญาณเตือนที่แตกต่างกัน เกิน 5% ควรค้นหา cluster จากฐานข้อมูลของ รพ. และทำ active case finding เกิน 10% ควรตั้ง warroom และ ออก field ส้ม=พะเยา อุตรดิตถ์ ระนอง พังงา แดง= น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก 14
13
จำนวนและสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อ H1N1 PDM ในผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาล 13 แห่งที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สัปดาห์ที่ 29/52-4/53 (19 ก.ค. 52 – 30 ม.ค. 53) จำนวน (ราย) จำนวน (ราย) % 25% 25% 15
14
สัปดาห์ล่าสุดของผลที่มี
จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อ H1N1 PDM ในผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาล 13 แห่งที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สัปดาห์ที่ 29/2552 ถึง 4/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 30 ม.ค. 2553) จำนวน (ราย) % สัปดาห์ล่าสุดของผลที่มี Week 5 – 30 Jan 28%
15
จำนวนและสัดส่วน(%) ที่ตรวจพบเชื้อ H1N1 PDM ในผู้ป่วย ILI ในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาล 13 แห่งที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สัปดาห์ที่ 29/52-4/53 (19 ก.ค. 52 – 30 ม.ค. 53) จำนวน (ราย) % 28%
16
จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อ H1N1 PDM ในผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาล 13 แห่งที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สัปดาห์ที่ 29/2552 ถึง 4/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 30 ม.ค. 2553) จำนวน (ราย) % 25%
17
Warning sign ของการระบาด Peak 2nd
แนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้น ทั่วไป เกือบทุกภาค มี clusters of outbreaks ต่อเนื่องหลายสัปดาห์ (สัปดาห์ที่ผ่านมามีอย่างน้อย ๑๐ เหตุการณ์ของการระบาด) การระบาดอยู่ในระดับอำเภอ ตำบล และมักรุนแรงในที่ที่มีการระบาดใหม่ และกลับมาพบมากขึ้นในเมืองใหญ่ กรุงเทพมหานคร ระดับการตรวจพบ lab positive เพิ่มจาก 9-10% เป็น 20-25% โดยเฉลี่ย ILI เกิน ๕% ของผู้ป่วยนอกใน ๖๔ รพ. มีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง (สัปดาห์นี้ ๓ ราย – สัปดาห์ก่อน ไม่มี และเฉลี่ย 0-1 ราย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.