ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีประสิทธิภาพ
2
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
3
ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน
งบประมาณ พัสดุ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
4
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
5
กรอบแนวคิดการจัดหาพัสดุภาครัฐ
มีการวางแผนการจัดหาและดำเนินการตามแผนที่กำหนด ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม แข่งขัน ดำเนินการให้ได้วัสดุที่ดี มีความคุ้มค่า กำหนดคุณสมบัติเฉพาะ/แบบรูปรายการชัดเจน เป็นกลาง พิจารณาอย่างโปร่งใส คำนึงถึงความคุ้มค่า ตรวจรับพัสดุ/ตรวจงานจ้างเป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญา
6
การบริหารงานพัสดุประกอบด้วย การบริหารด้านบุคลากร
การเงิน/ งบประมาณ การบริหารด้านบุคลากร การบริหารด้าน การจัดซื้อ/จัดจ้าง
7
กระบวนการบริหารงานพัสดุ
กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ การบริหารสัญญา เบิกจ่ายเงิน การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ กองการพัสดุภาครัฐภาครัฐ
8
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ กองการพัสดุภาครัฐภาครัฐ
9
การบริหารงานพัสดุ ด้านการเงิน
10
การกำหนดความต้องการพัสดุ
เพื่อขอตั้งงบประมาณ มี ๒ ด้าน
11
๑.ความต้องการด้านนโยบาย ๒.ความต้องการด้านภารกิจปกติ
ขอตั้งงบประมาณเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานสำรวจรายละเอียดโครงการ/แผนกลยุทธ์ เช่น ตั้งงบประมาณ ในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในสำนักงาน เป็นต้น รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ ขอตั้งงบประมาณให้สัมพันธ์กัน เช่น ก่อสร้างอาคาร /ต้องตั้งงบประมาณในการจ้างออกแบบ,จ้างควบคุมงาน/ จ้างที่ปรึกษา/มีค่าครุภัณฑ์ภายในตัวอาคาร?มีค่าตอบแทนคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง? เป็นต้น
12
เงินงบประมาณ ที่จะนำมาใช้กับการจัดซื้อจัดจ้างได้แก่
เงินที่รมต.ว่าการกระทรวงการคลังอนุญาตให้ไม่ต้องนำส่งคลัง/ เช่นเงินรายได้ของสถานศึกษา เงินงบประมาณรายจ่าย เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินกู้ ที่ กค. กู้จากต่างประเทศ
13
เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย
เงินนอกงบประมาณ เงินกองทุน เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย
14
งปม. เงินกู้ เงินช่วยเหลือ
การใช้บังคับตามระเบียบฯ การใช้บังคับ ส่วนราชการ การพัสดุ เงิน งปม. เงินกู้ เงินช่วยเหลือ
15
การซื้อ การพัสดุ การเช่า จัดทำเอง ที่ปรึกษา การ แลกเปลี่ยน การจ้าง
ออกแบบ ควบคุมงาน ที่ปรึกษา การซื้อ จัดทำเอง การพัสดุ
16
วิธีการจัดหา วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท วิธี e-Marketing วงเงินงบประมาณเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท(สินค้าไม่ซับซ้อน) วิธี e-Bidding วงเงินงบประมาณเกิน๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท(สินค้าซับซ้อน) วิธีพิเศษ วงเงินงบประมาณเกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนวงเงิน แต่มีเงื่อนไข
17
วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
หลักการจัดซื้อจัดจ้างเดิม วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่เกิน 100,000 บาท ตกลงราคา 100,000 – 2,000,000 บาท สอบราคา เกิน 2,000,0000 บาท e-Auction
18
สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์
หลักการจัดซื้อจัดจ้างใหม่ สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าไม่ซับซ้อน สินค้าซับซ้อน E-Market E-Bidding ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์
19
(ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑ ลว.๙ ก.ย.๔๘)
กำกับ ดูแล งานเช่า หรืองานจ้างใดๆ ที่สัญญาจะสิ้นสุดในวันที่ ๓๐ กันยายนของปีงบประมาณ และงานนั้นจำเป็นต้องกระทำต่อเนื่องไปในปีงบประมาณใหม่ตั้งแต่ วันเริ่มต้นปีงบประมาณ แต่ยังลงนามสัญญาไม่ได้ เนื่องจาก งปม.ยังไม่มีผลใช้บังคับ/และยังไม่ได้รับเงินงวด ๑.ให้เจ้าหน้าที่พัสดุเตรียมจัดหาผู้รับจ้าง หรือผู้ให้เช่าไว้ก่อน สัญญาจะสิ้นสุด ๒.รีบเสนอให้ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งให้เช่าหรือสั่งจ้าง ทำการอนุมัติ ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนสัญญาจะสิ้นสุด ๓.หลังจากนั้นแจ้งให้ผู้รับจ้างเข้าทำงาน หรือใช้พัสดุที่เช่าได้ทันที ในวันเริ่มต้นปีงบประมาณ เมื่องบประมาณมาถึง ให้การลงนามสัญญามีผลย้อนหลังตั้งแต่วันเริ่มต้นปีงปม.หรือวันที่เช่าหรือวันที่ทำงานจริง (ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑ ลว.๙ ก.ย.๔๘)
20
การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง(ระเบียบฯ ข้อ ๑๓)
ในช่วงต้นปีงบประมาณ. ให้เริ่มดำเนินการได้ ตั้งแต่ได้ทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้แล้ว มติกวพ.วิธีปฏิบัติ ๑.ให้เริ่มดำเนินการได้เมื่องบประมาณ ผ่านการอนุมัติจากรัฐสภา หรือได้รับอนุมัติเงินประจำงวดจากสำนักงบประมาณ แล้ว ๒.ให้เตรียมการจัดหาพัสดุ โดยสามารถเตรียมการในขั้นตอนใดก็ได้ เช่น: (ออกแบบ/สอบราคา/ประกวดราคาหาผู้ขาย/ผู้รับจ้างไว้แล้ว) พร้อมที่จะลงนามสัญญาได้ทันที เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงิน แต่การดำเนินการนั้น ต้องยังไม่มีลักษณะเป็นการผูกนิติสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก (เพื่อให้สอดคล้องพรบ.วิธีการงบประมาณ มาตรา ๒๓)
21
ข้อสังเกต ก่อนการจัดหาพัสดุแต่ละวิธีผู้บริหารต้องกำกับ ดูแล ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทำบันทึกรายงานขอซื้อหรือ ขอจ้าง เสนอขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าส่วนราชการก่อนทุกครั้ง(ระเบียบฯ ข้อ ๒๗)
22
•ระเบียบกฎหมายที่ต้องปฏิบัติ •การติดตามตรวจสอบและประเมินผล
ปัญหา/ความท้าทาย •การใช้จ่ายงบประมาณ •ระบบการบริหาร •ผู้ที่เกี่ยวข้อง •ระเบียบกฎหมายที่ต้องปฏิบัติ •การติดตามตรวจสอบและประเมินผล
23
หลักการเขียนTORและการกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
24
การกำหนดขอบเขตของงาน
** การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน และรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรืองานจ้าง ตลอดจนการวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ ** เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้ การกำหนดขอบเขตของงาน หลักการ
25
การกำหนดขอบเขตของงาน
*** ระเบียบพัสดุฯ *** ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน เว้นแต่ กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้น ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ
26
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ
งานซื้อ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ *** ห้าม *** 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น
27
การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่?
ความหมาย: การซื้อ การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้น เว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯ ข้อ ๒๓ (๖) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษจะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้
28
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวด ราคาที่ กวพ. กำหนด *** นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ***
29
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 1. ต้องเป็นผู้มีอาชีพขาย หรือ รับจ้าง 2. ไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน และ ได้แจ้งเวียน ชื่อแล้ว หรือ ไม่เป็นผู้ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือ บุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงาน 3. ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ) 3.1 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ ผู้เสนอราคารายอื่น 3.2 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ ผู้เสนอราคารายอื่น , ผู้ให้บริการกลางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
30
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 4. ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำสั่งให้สละสิทธิ์ และ ความคุ้มกันเช่นว่านั้น ** ต้องผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นในการซื้อหรือจ้าง ** ผู้เสนอราคาต้องเป็น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่อสร้างประเภท เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่น้อยกว่า.....บาท และ เป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ
31
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
ไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องการกำหนดผลงาน แต่หากจำเป็นต้องกำหนด ก็เป็นดุลยพินิจ ของส่วนราชการที่จะอนุโลมนำหลักเกณฑ์ ของงานก่อสร้างมาใช้ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณีทุนจดทะเบียน กำหนดไม่ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) *** งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป ***
32
การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
ทำตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวด ราคาที่ กวพ. กำหนด *** นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ***
33
การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
งานก่อสร้าง ----วงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ต้องกำหนดให้ผู้เสนอราคา ต้องเป็นนิติบุคคลเท่านั้น(มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – (หนังสือสลค.ด่วนมาก สร 0203/ว 80 ลว.8 มิ.ย. 21) ---ให้กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงิน งบประมาณ/วงเงินประมาณการ ( นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว.3 ม.ค. 37) สถานะ กรณีผลงาน
34
คุณสมบัติของผู้เสนอราคากรณีงานก่อสร้าง
*** กรณีผลงาน งานก่อสร้าง (ต่อ) -และต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น (ส.เวียน นร (กวพ)1204/ว11441 ลว.28 พ.ย.39) ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง คือ ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญา ที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจากการรับจ้างช่วง (แนววินิจฉัยของ กวพ.)
35
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
จดทะเบียน คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้าง ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าได้ ไม่จดทะเบียน คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข ข้อยกเว้น ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้ *** กรณีกิจการร่วมค้า *** ส.เวียนสำนักนายกฯ นร(กวพ)1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43
36
...อำนาจในการสั่งซื้อสั่งจ้าง
วิธีซื้อจ้าง ผู้มีอำนาจ วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ หัวหน้า ส่วนราชการ ไม่เกิน 50 ล. ไม่เกิน 25 ล. ไม่จำกัดวงเงิน ปลัดกระทรวง เกิน 50 ล. แต่ไม่เกิน 100 ล. เกิน 25 ล. แต่ไม่เกิน 50 ล. - รัฐมนตรี เจ้าสังกัด เกิน 100 ล.
37
กองการพัสดุภาครัฐ ต่อ 4551 อ.สามารถ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.