ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ
เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล กับ ความเสี่ยงจากกิจกรรมอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในทะเล เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ สมาคมวิทยาศาสตร์ทางทะเลแห่งประเทศไทย วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
2
เรื่องที่จะพูด ประเทศไทยกับความเป็นรัฐชายฝั่ง
ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล คืออะไร องค์ประกอบ มูลค่า (TEV) สถานภาพ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต (ความเสี่ยง)อุตสาหกรรมปิโตรเลียมในทะเล เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
3
เกริ่นนำ ประเทศไทยเป็นรัฐชายฝั่ง (จุดเชื่อมต่อที่สำคัญระหว่างแผ่นดินกับทะเล) ทะเลมีความสำคัญ เป็นแหล่งทรัพยากรและกิจกรรม เขตพื้นที่ทางทะเล > 350,000 ต.ร.กม. (พื้นที่บก 513,000 ต.ร.กม.) อ่าวไทย ( ประมาณ 230,000 ต.ร. กม.) ทะเลอันดามัน (ประมาณ 80,000 ต.ร.กม.) ช่องแคบมะละกาตอนเหนือ (ประมาณ 40,000 ต.ร.กม.) ความยาวชายฝั่ง >2,800 กม. 23 จังหวัด 897 เกาะ 19.5 และ 66 ล้านคน) เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
4
เขตทางทะเล น่านน้ำภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจำเพาะ
ทะเลหลวง บริเวณพื้นที่ เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
5
พื้นที่ทางทะเลที่คนไทยใช้ประโยชน์ได้
ที่มา: สำนักงานเลขาธิการศูนย์ไทยอาสาป้องกันชาติในทะเล ( เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
6
ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล อีกมุมมอง
หมายถึง ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยพึงได้รับจากทะเลหรือเกี่ยวเนื่องกับทะเลทั้งภายในน่านน้ำไทยหรือน่านน้ำอื่น รวมทั้งชายฝั่งทะเล เกาะ พื้นดินท้องทะเลหรือใต้พื้นดินท้องทะเล หรืออากาศเหนือท้องทะเลด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่ากิจกรรมใดในทุกๆ ด้าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางทะเล การขนส่ง การท่องเที่ยว ความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย หรืออื่นๆ โดยที่มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ก็น่าจะหมายถึง คุณค่าของผลประโยชน์จากทะเลในทุกมิติที่สามารถประเมินออกมาได้ทั้งในรูปตัวเงินและที่ไม่ใช่ (ดัดแปลงจาก เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ และคณะ ๒๕๕๐) เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
7
มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์โดยรวม
(Total Economic Value) มูลค่าการใช้ประโยชน์ (Use Value) มูลค่าการใช้โดยตรง (Direct Use Value) มูลค่าการใช้ทางอ้อม (Indirect Use Value) มูลค่าการไม่ใช้ประโยชน์ (Non-use Value) มูลค่าสงวนไว้ใช้ในอนาคต (Option Value) มูลค่าการคงอยู่ (Existence Value) มูลค่าเพื่อลูกหลาน (Bequest Value) ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล:การประเมินมูลค่า Component of Total Economic Values of coastal and marine resources Source: Dziegielewska et. al., 2009 เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
8
มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (เผดิมศักดิ์ และคณะ 2550)
มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (เผดิมศักดิ์ และคณะ 2550) หน่วย: ล้านบาท หมายเหตุ 1. มูลค่าจากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1.1 ทรัพยากรมีชีวิต 1.2 ทรัพยากรไม่มีชีวิต 234,608.85 499,069.12 เป็นมูลค่าที่รวบรวมได้เท่าที่ มีการประเมินโดยการ ศึกษาวิจัยเท่านั้น อาจไม่ใช่มูล ค่าที่แท้จริงทั้งหมด 2. มูลค่าจากกิจกรรมการใช้ทะเล 2.1 พาณิชยนาวี 2.2 อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ 2.3 การท่องเที่ยว 2.4 อื่นๆ 6,120,901.00 341,061.30 197,390.30 49,786.60 รวมมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล 7,442,817.17 3. ผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ทะเล 3.1 การกัดเซาะ 3.2 น้ำมันรั่วไหล 3.3 สึนามิ 4,657.00 1,919.11 85,084.17 รวม 91,660.28 เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
9
ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของไทย
ทรัพยากรมีชีวิต - การประมง - การเพาะเลี้ยง - ระบบนิเวศ ทรัพยากรไม่มีชีวิต - น้ำมัน - ก๊าซธรรมชาติ - แร่ธาตุ - พลังงานอื่นๆ ไม่ต่ำกว่า 7.5 ล้านล้านบาท ในจำนวนนี้ตกอยู่ในมือคนไทยไม่ถึง 30 % และที่ได้รับเต็มคือผลกระทบ การคมนาคมขนส่ง - การเดินเรือ - ท่าเรือและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง - การสื่อสาร อื่นๆ - การท่องเที่ยว - การอนุรักษ์ - การศึกษาวิจัย ปัจจุบันมูลค่าน่าจะเพิ่มมากขึ้น เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
10
แนวโน้มในอนาคต มีการใช้เพิ่มมากขึ้น
สถานภาพของทรัพยากรลดน้อยลงในอัตราเร่งอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบทั้งภายในมิตินั้นๆ และมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างมิติ เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
11
มองในอนาคต (10 ปีข้างหน้า)
ผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทยจะยิ่งมีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อมิติต่างๆ ในการใช้ทะเลของประเทศไทยอยู่หลายประการทั้งที่มีสาเหตุมาจากมนุษย์ และภัยธรรมชาติต่างๆ ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก (เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ และคณะ 2550, 2553) เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
12
กิจกรรมอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในทะเล
กิจกรรมทางทะเลมีความสำคัญ ทำให้มูลค่าผลประโยชน์ชาติทางทะเล มีค่าเพิ่มสูงขึ้นมาโดยตลอด (7.5, 12.6, 17.6………….) การขนส่งน้ำมันทางทะเล และอื่นๆ เป็นกิจกรรมทางทะเลที่มีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นตามความต้องการทางพลังงาน การรั่วไหลของน้ำมันในทะเลเนื่องมาจากกิจกรรมการขนส่งทางทะเลเป็นอุบัติเหตุทางทะเลแบบหนึ่ง ที่เกิดขึ้นได้ ถึงแม้จะมีมาตรการป้องกันต่างๆ เป็นอย่างดีแล้วก็ตามทางทะเล เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
13
ความเป็นมา (ต่อ) กรมควบคุมมลพิษ รายงานว่าในช่วง พ.ศ เกิดเหตุน้ำมันรั่วไหล 124 เหตุการณ์ กรมเจ้าท่า รายงานว่าในช่วง พ.ศ เกิดเหตุน้ำมันรั่วไหลในทะเลที่มีปริมาณน้ำมันครั้งละมากกว่า 20,000 ลิตร เป็นจำนวน 9 ครั้ง ระดับการรั่วไหล Tier I น้อยกว่า 20,000 ลิตร Tier II 20,000-1,000,000 ลิตร* Tier III มากกว่า 1,000,000 ลิตร เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
14
ข้อคิดเห็น (ความเสี่ยง)
ความสับสน คลุมเครือในข้อมูลข่าวสารในด้านต่างๆ ไม่ทันต่อความต้องการของสังคมในข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เป็นอุปสรรคในการวางแผนในการแก้ปัญหาในระยะต่างๆ เป็นอย่างยิ่ง ทำให้การแก้ปัญหาต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเกิดปัญหาการรั่วไหลของน้ำมันในทะเลครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งสุดท้ายและมีโอกาสที่จะเกิดความเสียหายได้มากหรือน้อยกว่าในครั้งนี้ ทุกภาคส่วนในสังคมไทยต้องถามตัวเองว่าเราจะป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพได้อย่างไรโดยใช้เหตุการณ์ในครั้งนี้เป็นบทเรียนที่สำคัญ เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
15
การมีฐานความรู้ที่ใช้ในการสนับสนุนในเรื่องนี้ และภาพรวม
ข้อคิดเห็น (ต่อ) ความสำคัญและความจำเป็นของการมีข้อมูลและองค์ความรู้ ผู้รู้และ องค์กร??? ในเรื่องดังกล่าว ลักษณะเฉพาะของปัญหาทางทะเล มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจำนวนมาก เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน การมีฐานความรู้ที่ใช้ในการสนับสนุนในเรื่องนี้ และภาพรวม ควรมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยเฉพาะ (จะช่วยให้สังคมไทยพร้อมกับเรื่องนี้ได้อย่างไร?) เวทีสาธารณะ: “คำถามที่ ปตท. ต้องตอบ... ก่อนที่ความจริงจะหายไปพร้อมกับคราบน้ำมัน” วัน/เวลา: วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา – น. สถานที่: ห้อง 2201 ชั้น 22 ศูนย์ศึกษาวิภาวดี (มหาวิทยาลัยรังสิต) อาคารทีเอสทีทาวเวอร์ (TST Tower) วิภาวดี ซอย 9 ถนนวิภาวดีรังสิต เเขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม แผนที่:
16
ฐานข้อมูลความรู้ทางทะเล (Marine Knowledge Hub)
Chula Taskforce on Oil Spill (CU-TOS) Tel: FB:
17
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 13. 30 - 16. 30 น. ณ ห้องประชุม1 สกว
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
18
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 13. 30 - 16. 30 น. ณ ห้องประชุม1 สกว
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
19
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 13. 30 - 16. 30 น. ณ ห้องประชุม1 สกว
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
20
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 13. 30 - 16. 30 น. ณ ห้องประชุม1 สกว
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
21
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 13. 30 - 16. 30 น. ณ ห้องประชุม1 สกว
วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
22
อ่าวพร้าว เกาะเสม็ด และบริเวณใกล้เคียง
น้ำมันดิบโอมาน -องค์ประกอบ? -ปริมาณ? Boom Slickgone NS น้ำมันดิบโอมาน น้ำมันดิบโอมาน Slickgone NS อ่าวพร้าว เกาะเสม็ด และบริเวณใกล้เคียง วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
23
Chula Taskforce on Oil Spill (CU-TOS) FB: www.facebook.com/CU-TOS
Tel: FB: วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุม1 สกว. จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุดโครงการการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: Padermsak.J
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.