งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมตัวผู้ต้องหา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมตัวผู้ต้องหา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมตัวผู้ต้องหา
คดีลหุโทษ - ควบคุมได้เท่าเวลาที่จะถามคำให้การ และที่ จะรู้ตัวว่าเป็นใคร และที่อยู่ของเขาอยู่ที่ไหนเท่านั้น (ป.วิ.อาญา ม.87 วรรคสอง)

2 คดีโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน ห้าร้อยบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- พนักงานสอบสวนควบคุมตัวได้ไม่เกิน 48 ชั่วโมง - จะครบ 48 ชั่วโมง ต้องขออำนาจศาลฝากขังได้ 1 ครั้ง ไม่เกิน 7 วัน

3 ข้อสังเกต - ส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงฯ มาตรา 7 คือ
- คดีประเภทนี้อยู่ในอำนาจศาลแขวงด้วย - ส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงฯ มาตรา 7 คือ - พนักงานสอบสวนต้องสอบสวนให้เสร็จภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาถูกจับ (ไม่นับเวลาเดินทาง)

4 - ถ้าฟ้องไม่ทันต้องขอผัดฟ้อง หรือ ผัดฟ้องและฝากขัง แล้วแต่กรณี - คดีมีโทษจำคุกเกิน 6 เดือน แต่ไม่เกิน สิบปี หรือปรับเกิน 500 บาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ (เป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลจังหวัด)

5 คดีมีโทษจำคุกตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป จะมีโทษปรับ หรือไม่ก็ตาม
- ต้องขอฝากขังผู้ต้องหาต่อศาล ได้ครั้งละไม่เกิน 12 วัน แต่ไม่เกิน 48 วัน (รวม 4 ครั้ง) คดีมีโทษจำคุกตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป จะมีโทษปรับ หรือไม่ก็ตาม - ฝากขังได้ครั้งละไม่เกิน 12 วัน - รวมกันไม่เกิน 84 วัน (รวม 7 ครั้ง) - ทั้งนี้ต้องปฏิบัติตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 87

6 ข้อสังเกต ขอฝากขัง (ศาลจังหวัด) - นำตัวผู้ต้องหาพร้อมคำร้องขอฝากขังครั้งที่ 1 ไปศาล - คำร้องครั้งที่ 1 ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ เหตุการณ์ แห่งการจับกุม การกระทำของผู้ต้องหา เป็นความผิดต่อกฎหมายฐานใด ตามกฎหมายใด

7 เหตุที่ควบคุมจะครบ 48 ชั่วโมง แล้วสอบสวนยังไม่ เสร็จ - จะครบ 48 ชั่วโมง เมื่อใด - ขอฝากขังกี่วัน นับตั้งแต่วันไหนถึงวันไหน

8 ขอฝากครั้งแรก ให้นับหนึ่ง วันที่ขอฝากขังไปอีก วัน - ขอฝากขังครั้งต่อไปให้นับหนึ่งวันถัดจากวันครบ กำหนดครั้งแรก หรือครั้งต่อไปอีก 12 วัน ไปดูคำสั่งศาลด้วยตนเองเสมอ ว่าอนุญาตกี่วัน

9 - สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นฝากขัง
- สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นฝากขัง - คัดค้านการฝากขัง - ขอปล่อยตัวชั่วคราว (ประกันตัว) ชั้นศาล

10 ข้อสังเกต การผัดฟ้อง, ผัดฟ้องและฝากขัง
ข้อสังเกต การผัดฟ้อง, ผัดฟ้องและฝากขัง - การผัดฟ้อง (เป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง) - ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวในชั้นสอบสวน - ฟ้องไม่ทันภายใน 48 ชั่วโมง - นำคำร้องขอผัดฟ้องครั้งที่ 1 ไปยื่นศาล (ไม่ต้องนำตัวผู้ต้องหาไปศาล)

11 ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับชั้นจับกุม และพฤติการณ์แห่ง การกระทำผิดของผู้ต้องหา (เหมือนฝากขัง) - ระบุจะครบ 48 ชั่วโมงวันใด เหตุที่ฟ้องไม่ทัน เพราะ อะไร ขอผัดฟ้องกี่วัน เริ่มตั้งแต่วันไหนถึงวันไหน - ระบุว่า ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวชั้นสอบสวน - ขอผัดฟ้องครั้งที่ 2,3,4 ห้ามใช้แบบฟอร์มคำร้อง ขอผัดฟ้องครั้งที่ 1

12 ข้อสังเกต - แสดงว่าผู้ต้องหามิได้รับการประกันตัวชั้นสอบสวน
- การผัดฟ้องและฝากขัง - แสดงว่าผู้ต้องหามิได้รับการประกันตัวชั้นสอบสวน - นำคำร้องขอผัดฟ้องครั้งที่ 1 พร้อมตัวผู้ต้องหาไปศาล - รายละเอียดเหมือนคำร้องขอผัดฟ้อง - เพียงแต่ระบุขอให้ศาลอนุญาตให้ผัดฟ้องและขังผู้ต้องหาไว้ระหว่างสอบสวน

13 - พยานหลักฐานที่ปรากฏแล้วมีเพียงใด
การปล่อยชั่วคราว ต้องพิจารณา - ความหนักเบาแห่งข้อหา - พยานหลักฐานที่ปรากฏแล้วมีเพียงใด - พฤติการณ์ต่าง ๆ แห่งคดีเป็นอย่างไร - เชื่อถือผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันได้เพียงใด

14 - ผู้ต้องหาน่าจะหลบหนีหรือไม่ - ภัยอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดจากการ ปล่อยชั่วคราวมีเพียงใดหรือไม่ (ป.วิ.อาญา มาตรา 108)

15 การสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วคราว
มีเหตุใดเหตุหนึ่งคือ - ผู้ต้องหาจะหลบหนี - ผู้ต้องหาจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน - ผู้ต้องหาจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น - การปล่อยชั่วคราวจะเป็นอุปสรรคหรือก่อความ เสียหายต่อการสอบสวน

16 ข้อสังเกต แจ้งเหตุดังกล่าวให้ผู้ต้องหาและผู้ยื่นคำร้องทราบ
การไม่ให้ปล่อยชั่วคราว ต้องแสดงเหตุผล และต้อง แจ้งเหตุดังกล่าวให้ผู้ต้องหาและผู้ยื่นคำร้องทราบ เป็นหนังสือโดยเร็ว

17 การปล่อยชั่วคราว ปล่อยชั่วคราวไม่มีหลักประกัน ปล่อยชั่วคราวมีประกัน - ปล่อยชั่วคราวมีประกันและหลักประกัน

18 - เงินสด - หลักทรัพย์อื่น - บุคคลมาเป็นหลักประกันโดยแสดง หลักทรัพย์
หลักประกัน 3 ชนิด - เงินสด - หลักทรัพย์อื่น - บุคคลมาเป็นหลักประกันโดยแสดง หลักทรัพย์

19 ระยะเวลาการให้ประกันตัว
กรณีผัดฟ้อง (ศาลแขวง) -ให้ประกันเท่าระยะเวลาที่ขอผัดฟ้องแต่ละครั้ง

20 คดีที่อยู่ในอำนาจศาลจังหวัด
ต้องไม่เกิน 3 เดือน นับแต่วันแรกที่มีการปล่อยตัว ชั่วคราว ขยายได้ แต่ต้องไม่เกิน 6 เดือน ครบ 6 เดือนแล้ว ยังสอบสวนไม่เสร็จ ต้องนำคำร้องขอฝากขังผู้ต้องหาต่อศาล - นำ ป.วิ.อาญา มาตรา 84 ว.4 ถึง ว.9 มาใช้บังคับ

21 อำนาจการควบคุมตัวและสั่งปล่อยชั่วคราว
ข้อพิจารณา - กรณีถูกจับตามหมายจับ - กรณีมีการออกหมายจับจากศาลแล้ว ผู้ต้องหาเข้ามอบตัว,เข้าพบ อายัดตัว, อื่น ๆ - พนักงานสอบสวนมีอำนาจควบคุมตัวไว้ หรือสั่งปล่อยชั่วคราวได้

22 - กรณียังมิได้มีการขอหมายจับจากศาล
ข้อพิจารณา - กรณียังมิได้มีการขอหมายจับจากศาล - ผู้ต้องหาเข้าพบ, มอบตัวต่อพนักงานสอบสวน - ไม่ถือว่าเป็นการจับผู้ต้องหาตามรัฐธรรมนูญ - ไม่มีอำนาจควบคุมตัวและสั่งปล่อยชั่วคราวตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 87 ,106 และ 113 - ให้สาบานตัวว่าจะมาตามนัด

23 ประวัติการกระทำความผิดของผู้ต้องหา
- ต้องตรวจสอบเสมอ - ลงชื่อผู้บันทึก, ตรวจสอบทุกครั้ง

24 - ว่าได้ทำอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน อย่างไร โดยสรุป
บันทึกพนักงานสอบสวน - เป็นบันทึกความทรงจำของพนักงานสอบสวน - ว่าได้ทำอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน อย่างไร โดยสรุป - ทำเรียงลำดับก่อนหลังจนเสร็จการสอบสวน

25 - ลงชื่อพนักงานสอบสวน และหัวหน้าพนักงานสอบสวนทุกครั้ง
- ลงชื่อพนักงานสอบสวน และหัวหน้าพนักงานสอบสวนทุกครั้ง - วันเวลาในบันทึกพนักงานสอบสวน ต้องตรง กับวันเวลาในบันทึกคำให้การ หรือเอกสารอื่นๆ ที่ทำขึ้น (ดู ป.วิ.อาญา มาตรา 9)

26 บันทึกการควบคุมตัวผู้ต้องหา
- ระบุชื่อผู้ต้องหาที่จะควบคุมให้ชัดเจน - ถ้าผู้ต้องหามีหลายคน และควบคุมตัวพร้อมกัน - ให้ทำในบันทึกฉบับเดียวกันได้ - แต่ต้องระบุชื่อผู้ต้องหาทุกคนให้ชัดเจน

27 - ถ้าผู้ต้องมีหลายคนและควบคุมตัวไม่พร้อมกัน
- ถ้าผู้ต้องมีหลายคนและควบคุมตัวไม่พร้อมกัน ให้แยกทำบันทึกการควบคุมตัวแต่ละฉบับ

28 คดีอาญาที่อยู่ในอำนาจศาลแขวง
คือ คดีอาญาที่กฎหมายระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ

29 อำนาจควบคุมตัวผู้ต้องหา
หลัก - สอบสวนและส่งพนักงานอัยการให้ฟ้องศาล ให้ทันภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาถูกจับ ( ไม่นับเวลาเดินทาง)

30 - ถ้าฟ้องไม่ทันภายใน 48 ชั่วโมง ต้องขอ ผัดฟ้อง หรือ ผัดฟ้องและฝากขังด้วย แล้วแต่กรณี - ผัดฟ้อง หรือ ผัดฟ้องและฝากขัง ได้คราวละ ไม่เกิน 6 วัน ช่วงแรกไม่เกิน 3 คราว ช่วงหลังได้คราวละไม่เกิน 6 วัน แต่ไม่เกิน คราว สรุป ผัดฟ้อง ได้ 5 ผัด รวม 30 วัน

31 ข้อสังเกต - ผู้ต้องหาได้ประกันตัวในชั้นสอบสวน - ผัดฟ้องและฝากขัง
- ผัดฟ้องอย่างเดียว - ผู้ต้องหาได้ประกันตัวในชั้นสอบสวน - ผัดฟ้องและฝากขัง - ผู้ต้องหาถูกควบคุมตัวชั้นสอบสวน - คดีศาลแขวง แม้จะให้ประกันตัวผู้ต้องหาไป ก็ต้อง ขอผัดฟ้องเสมอ มิฉะนั้นจะขาดผัดฟ้อง และฟ้องผู้ต้องหา ไม่ได้ ต้องขออนุญาตฟ้องต่ออัยการสูงสุด

32 การสอบสวนคดีที่อยู่ในอำนาจศาลแขวง
- สอบสวนเต็มรูปแบบ - ผู้ต้องหาปฏิเสธ - สอบสวนแบบฟ้องวาจา - ผู้ต้องหารับสารภาพ (พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงฯ มาตรา 20)

33 การสอบสวนแบบฟ้องวาจา
- คดีอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง - ผู้ต้องหารับสารภาพชั้นสอบสวน - พนักงานสอบสวนนำตัวผู้ต้องหาส่งอัยการเพื่อฟ้องศาลโดยมิต้องทำการสอบสวน - แต่ต้องฟ้องให้ทันภายใน 48 ชั่วโมง

34 - ถ้าผู้ต้องหารับสารภาพชั้นศาล - ตัดสิน
- ถ้าผู้ต้องหารับสารภาพชั้นศาล - ตัดสิน - ถ้าผู้ต้องปฏิเสธชั้นศาล - ให้พนักงานอัยการ รับตัวผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวนเพื่อทำการ สอบสวนเต็มรูปแบบ

35 จบแล้วครับ


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมตัวผู้ต้องหา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google