งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบการบริหารการเงินการคลังของรัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบการบริหารการเงินการคลังของรัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบการบริหารการเงินการคลังของรัฐ
เป้าหมายและเครื่องมือ ทางเศรษฐกิจ

2 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ เป้าหมายทางเศรษฐกิจ 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. การกระจายรายได้

3 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ/การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
GNP เป็นการวัดรายได้ของประเทศ Per Capita คำนวณจากผลิตภัณฑ์ประชาชาติหารด้วยจำนวนประชากรทั้งประเทศ GDP ระดับประเทศ Gross Domestic Product   หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่งโดยไม่คำนึงถึงว่าทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตสินค้า และบริการจะเป็นทรัพยากรของพลเมืองในประเทศหรือเป็นของชาวต่างประเทศ ในทางตรงข้าม ทรัพยากรของพลเมืองในประเทศแต่ไปทำการผลิตในต่างประเทศก็ไม่นับรวมไว้ในผลิตภัณฑ์ในประเทศ

4 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ/การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
GPP ระดับจังหวัด Gross Province Product - มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้จากการประกอบการในขอบเขตพื้นที่จังหวัดในรอบระยะเวลาหนึ่ง - หรือรายได้จากผลตอบแทนปัจจัยการผลิตต่างๆ ซึ่งได้แก่ ค่าตอบแทนแรงงาน ค่าเช่าที่ดิน ดอกเบี้ย และกำไร

5 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ/การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
วัดได้ 3 ช่องทาง รายได้ Income รายจ่าย Expenditure การผลิต Production

6 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ/เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 1. เศรษฐกิจมั่งคง Economic Stable ไม่เคลื่อนไหว อย่างรุนแรง 2. ไม่มีภาวะเงินเฟ้อ Inflation หมายถึง ภาวะที่ระดับสินค้าโดยเฉลี่ยสูงขึ้นเรื่อยๆ 3. ไม่มีภาวะเงินฝืด Deflation หมายถึง ภาวะที่ระดับสินค้าและบริการโดยเฉลี่ยลดลงเรื่อยๆ ผู้ผลิตลดการผลิตก่อให้เกิดการว่างงาน

7 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ/ การกระจายรายได้
3. การกระจายรายได้ 1. ประชากรมีรายได้ไม่แตกต่างกันมาก National Income คือผลตอบแทนจากปัจจัยการผลิต ซึ่งได้แก่ค่าตอบแทนแรงงาน ผลตอบแทนจากที่ดิน ทุน และการประกอบการ 2. วัดโดยใช้สัมประสิทธิ์จินี่ GINI Coefficient    คือ สัมประสิทธิ์จินี หรือสัมประสิทธิ์การกระจายรายได้  เป็นตัวชี้วัดความไม่เท่าเทียมที่ใช้กันแพร่หลายที่สุด  เป็นตัวที่ใช้อธิบายในกลุ่ม Lorenz Curve  ค่าจินีถูกกำหนดจากพื้นที่ระหว่างเส้น Lorenz Curve กับเส้นการกระจายรายได้สมบูรณ์  หารด้วยพื้นที่ใต้เส้นทะแยงมุมทั้งหมด    สัมประสิทธิ์จินี จะมีค่าตั้งแต่  0 ถึง 1 โดยหากมีค่าเข้าใกล้ศูนย์จะยิ่งดี   คือทุกคนมีรายได้เท่าเทียมกันอย่างสมบูรณ์ เมื่อค่า = 0

8 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ
1. นโยบายการคลัง 2. นโยบายการเงิน

9 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง
การไปสู่เป้าหมายทางเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายการคลัง 1. การจัดเก็บรายได้ 2. การใช้จ่ายภาครัฐ 3. การกู้เงิน

10 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง/การจัดเก็บรายได้
1. การจัดเก็บรายได้ Revenue collection 1.1 กรมสรรพกร เช่น ภาษีเงินได้ / ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Individual Income Tax คือ ภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ตามที่กฎหมายกำหนดและมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยปกติจัดเก็บเป็นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปีใดๆ ผู้มีรายได้มีหน้าที่ต้องนำไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กำหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปีถัดไป สำหรับผู้มีเงินได้ บางกรณีกฎหมายยังกำหนดให้ยื่นแบบฯ เสียภาษีตอนครึ่งปี สำหรับรายได้ ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงครึ่งปีแรก เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีที่ต้องชำระและเงินได้ บางกรณี กฎหมายกำหนดให้ ผู้จ่ายทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ที่จ่ายบางส่วน เพื่อให้มีการทยอยชำระภาษีขณะที่มีเงินได้เกิดขึ้นอีกด้วย

11 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (อังกฤษ: Value Added Tax หรือ VAT) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แวต เป็นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการผลิต การจำหน่ายหรือการให้บริการ ตัวอย่างเช่น สมมติว่าอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นร้อยละ 10 ซื้อวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์มา 100 บาท และมีภาษีซื้อ 10 บาท เมื่อผลิตเป็นสินค้าขายในราคา 150 บาท ตอนขายไปจะต้องคิดภาษีขาย 15 บาท ดังนี้ ก็จะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจำนวน = 5 บาท เท่านั้น ถ้าการซื้อ และขายเกิดขึ้นภายในรอบการจ่ายภาษีเดียวกัน.

12 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
1.2 กรมสรรพสามิต เช่น ภาษีน้ำมัน สุรา บุหรี่ Fuel tax, Alcohol tax, Tobacco tax 1.3 กรมศุลกากร เช่นภาษี นำเข้าส่งออก Import-Export Tax

13 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
2. รายได้จากรัฐวิสาหกิจ นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน เช่น ปตท ธนาคารออมสิน โรงงานยาสูบ สลากกินแบ่งรัฐบาล

14 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
ลำดับที่ชื่อรัฐวิสาหกิจกำไรสุทธิ 1 บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 115,125.20 2 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 40,341.84 3 บมจ.ธนาคารกรุงไทย 33,929.27 4 ธนาคารออมสิน ,909.03 5 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 21,066.16 6 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) 16,347.35 7 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 15,097.66 8 การไฟฟ้านครหลวง 11,231.26 9 บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) 11,197.81 10 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 9,754.70 รวม 296,000.28

15 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
รัฐวิสาหกิจที่มีผลขาดทุนสูงสุด (ปี 2556 ) 1 บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) -11,999.95 2 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ -5,353.98 3 การกีฬาแห่งประเทศไทย 4 องค์การสะพานปลา 5 องค์การตลาด รวม -17,497.96

16 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการคลัง /การจัดเก็บรายได้
3. รายได้จากค่าธรรมเนียม ค่าปรับ เช่น ภาษีที่ดิน ค่าโอน ค่าบำรุงท้องที่ ภาษีรถยนต์ ภาษีอากร แสตมป์ ภาษีมรดก ค่าธรรมเนียม ค่าปรับส่วนราชการต่างๆ

17 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/ นโยบายการคลัง / การใช้จ่ายภาครัฐ
1. รายได้(ภาษีและไม่ใช่ภาษี) ฝากไว้ที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท) แต่ กรมบัญชีกลาง(บก.) ใช้จ่ายเงินตามกฎหมายและระเบียบที่กำหนด 2. รายจ่าย ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชนใช้จ่ายตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณประจำปี 2.1 งบประจำ เช่นเงินเดือน ค่าจ้าง 2.2 งบลงทุน เช่น ค่าก่อสร้าง ถนน สะพาน 2.3 งบกลาง เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน

18 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/ นโยบายการคลัง /การกู้เงิน
การกู้เงิน (สำนักบริหารหนี้สาธารณะ) 1. เมื่อรายได้ไม่พอกับรายจ่ายจึง กู้เงิน 2. กู้ในประเทศ หรือ ต่างประเทศ พันธบัตร / ตั๋วเงินคลัง 3. เงินกู้สาธารณะจะต้องไม่เกิน 60 % ของ GDP (กรอบความยั่งยืนทางการคลัง)

19 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการเงิน
นโยบายการเงิน การควบคุมเครดิตทางปริมาณหรือโดยทั่วไป การควบคุมเครดิตทางคุณภาพหรือวิธีคัดสรร

20 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการเงิน/ การควบคุมเครดิตทางปริมาณหรือโดยทั่วไป
การชื้อขายหลักทรัพย์ เพื่อควบคุมเงินสดสำรองของ ธนาคารพาณิชย์ (ธพณ.) และมีผลต่ออัตราดอกเบี้ย อัตราชื้อลด Discount rate (อัตราดอกเบี้ยที่ ธปท.คิดกับ ธพณ.) มีผลต่อการกำหนดอัตราดอกเบี้ยของ ธพณ. ต่อประชาชน เงินสดสำรองที่ต้องดำรง (เงินฝากที่ ธพณ. ต้องฝากกับ ธปท.)

21 เครื่องมือทางเศรษฐกิจ/นโยบายการเงิน/ การควบคุมเครดิตทางคุณภาพหรือวิธีคัดสรร
เครดิตเพื่อชื้อขายหลักทรัพย์ เครดิตเพื่อการบริโภค เครดิตเพื่อการชื้อบ้านและที่ดิน


ดาวน์โหลด ppt ระบบการบริหารการเงินการคลังของรัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google