ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKimmo Kinnunen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
อุตสาหกรรมสิ่งทอ ความหมายของสิ่งทอ การตั้งโรงงานเกี่ยวกับสิ่งทอ
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 การตั้งโรงงานเกี่ยวกับสิ่งทอตามพระราชบัญญัติการนิคมฯ พ.ศ.2522 อุตสาหกรรมสิ่งทอกับ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
2
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย
“สิ่งทอ” หมายถึงเส้นใย เส้นด้าย ผ้า หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก เส้นใย เส้นด้าย หรือจากผ้า เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ อุตสาหกรรมการผลิตสิ่งทอของประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทดังนี้ อุตสาหกรรมเส้นใย อุตสาหกรรมปั่นด้าย อุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมฟอก ย้อม พิมพ์และแต่งสำเร็จ อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
3
การตั้งโรงงานเพื่อประกอบอุตสาหกรรมสิ่งทอ
การตั้งโรงงานมีกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องอยู่ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 การจำแนกว่าโรงงานใดอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับใดพิจารณาจากพื้นที่ตั้งของโรงงาน พื้นที่ พื้นที่ เขตประกอบการอุตสาหกรรม พื้นที่ในชุมชนอุตสาหกรรม พื้นที่เอกเทศ นิคมอุตสาหกรรม อยู่ภายใต้ พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 อยู่ภายใต้ พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535 ย้อนกลับ
4
พื้นที่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม
เป็นการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับอุตสาหกรรม ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 การพัฒนาต้องได้รับการพิจารณาและประกาศกำหนดเขตประกอบการอุตสาหกรรมจากกระทรวงอุตสาหกรรม ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายโรงงาน ตัวอย่างเช่น เขตประกอบอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค จังหวัดระยอง พื้นที่ในชุมชนอุตสาหกรรม พื้นที่โดยภาคเอกชนเพื่อรองรับอุตสาหกรรม ตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม การพัฒนาต้องได้รับการพิจารณาและกำหนดพื้นที่จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม การพิจารณาอนุญาตตามกฎหมายโรงงานจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากได้มีการพิจารณาพื้นที่โดยรวม และประเภทอุตสาหกรรมที่จะประกอบกิจการในพื้นที่ดังกล่าวแล้ว พื้นที่เอกเทศ เป็นพื้นที่ที่ผังเมืองระบุให้เป็นสีม่วง สำหรับสร้างโรงงาน หรือสีเม็ดมะปราง สำหรับสร้างคลังสินค้า กลับสู่หน้าหลัก
5
พื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรม
เขตพื้นที่ดินที่จัดสรรหรือกำหนดไว้สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรือกิจการประกอบอุตสาหกรรมให้เข้าไปอยู่ด้วยกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่อุตสาหกรรม ระบบสาธารณูปโภคและส่วนประกอบต่างๆที่อำนวยความสะดวกในการประกอบกิจการ อันได้แก่ ระบบไฟฟ้า ประปา ท่อระบายน้ำ โทรศัพท์ ถนนเข้าสู่อุตสาหกรรมส่วนต่างๆ สถานีบริการน้ำมันหรือปั้มน้ำมัน ทีทำการไปรษณีย์ ศูนย์การค้าหรือร้านค้าต่างๆ ธนาคาร ที่พักอาศัย บ้านพัก คอนโด อพาร์ทเมนต์ ศูนย์กีฬาสำหรับบุคคลากรในนิคมอุตสาหกรรม และอื่นๆ โรงบำบัดน้ำเสียสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม กลับสู่หน้าหลัก
6
การตั้งโรงงานเกี่ยวกับสิ่งทอ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
กรณีเลือกประกอบกิจการในพื้นที่หนึ่งใน 3 พื้นที่กล่าวคือ พื้นที่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม พื้นที่ในชุมชนอุตสาหกรรม หรือพื้นที่เอกเทศ มีข้อควรพิจารณาดังนี้ “โรงงาน” ตามความหมายในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ 5 แรงม้าหรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป ใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม สำหรับทำ ผลิตประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใดๆ โรงงานแบ่งเป็น 3 จำพวก โรงงานจำพวกที่ 1 โรงงานจำพวกที่ 2 โรงงานจำพวกที่ 3 กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
7
มีแรงม้ารวมของเครื่องจักร 5-20 แรงม้า และ/หรือมีจำนวนคนงาน 7-20 คน
โรงงานจำพวกที่ 1 มีแรงม้ารวมของเครื่องจักร 5-20 แรงม้า และ/หรือมีจำนวนคนงาน 7-20 คน สามารถประกอบกิจการได้ทันที แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 โรงงานจำพวกที่ 2 มีแรงม้ารวมของเครื่องจักร 20 แรงม้าแต่ไม่เกิน 50 แรงม้า และ/หรือ มีจำนวนคนงานมากกว่า 20 คน แต่ไม่เกิน 50 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน แต่เมื่อจะ เริ่มประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อน โรงงานจำพวกที่ 3 มีแรงม้ารวมของเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า และ/หรือมีจำนวนคนงานมากกว่า 50 คน ต้องขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อนจึงจะประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน ย้อนกลับ หน้าถัดไป
8
การแบ่งจำพวกของโรงงานดังกล่าวนั้นเป็นเพียงการแบ่งในภาพกว้าง หากท่านต้องการทราบว่าโรงงานของท่านจัดเป็นโรงงานประเภทหรือชนิดใดและเป็นโรงงานจำพวกใดโดยละเอียดท่านสามารถศึกษาได้จากบัญชีท้ายกฎกระทรวง(พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ ซึ่งได้กำหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานไว้ทั้งหมด 107 ประเภท ได้แก่ลำดับที่1-107 และในบางประเภทหรือชนิดของโรงงาน ได้กำหนดการประกอบกิจการย่อย (วงเล็บ) ไว้ด้วย ย้อนกลับ หน้าถัดไป
9
การเริ่มต้นประกอบธุรกิจสิ่งทอในพื้นที่เขตประกอบการอุตสาหกรรม พื้นที่ในชุมชนอุตสาหกรรม หรือพื้นที่เอกเทศ คำขออนุญาตที่เกี่ยวกับการเริ่มต้นประกอบกิจการโรงงาน 1. อุตสาหกรรมเส้นใย (คลิก) 2. อุตสาหกรรมปั่นด้าย (คลิก) 3. อุตสาหกรรมทอผ้า (คลิก) 4. อุตสาหกรรมฟอก ย้อม พิมพ์และแต่งสำเร็จ (คลิก) 5. อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม (คลิก) คำขออนุญาตอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการโรงาน (คลิก) ย้อนกลับ กลับสู่หน้าหลัก
10
อุตสาหกรรมเส้นใย เป็นอุตสาหกรรมขั้นต้นในอุตสาหกรรมสิ่งทอ การผลิตจะใช้วัตถุดิบหลัก 2 ชนิด คือ ใยธรรมชาติ ใยสังเคราะห์ การตั้งโรงงานหีบหรืออัดฝ้าย หรือการตั้งโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเส้นใยสังเคราะห์ ไม่ว่าเครื่องจักรในโรงงานจะมีกำลังแรงม้าเท่าใดหรือมีจำนวนคนงานในโรงงานจำนวนเท่าใดก็ตาม จัดเป็นโรงงานจำพวกที่3 (คลิก)ตามกฎกระทรวง(พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 กลับสู่หน้าหลัก
11
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
โรงงานจำพวกที่ 3 การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องยื่นคำขอใดๆ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อน จึงจะเริ่มประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
12
หากไม่ทำการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีโทษ
ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หากมีการตั้งโรงงานขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้ประกอบธุรกิจเริ่มประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ย้อนกลับ
13
อุตสาหกรรมปั่นด้าย อุตสาหกรรมปั่นด้ายเป็นอุตสาหกรรมขั้นกลางเป็นการนำเส้นใยมาปั่นเป็นเส้นด้าย การตั้งโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการปั่นด้ายนั้น แบ่งเป็น 3 กรณีคือ กรณีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 1 ไม่ต้องยื่นขออนุญาตตั้งโรงงาน สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน กรณีเครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี และไม่จัดอยู่ในจำพวกที่ 1 จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 2 (คลิก) กรณีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้าหรือโรงงานทุกขนาดซึ่งมีการฟอก ย้อมสี จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (คลิก) ตามกฎกระทรวง(พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 กลับสู่หน้าหลัก
14
หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ
การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องทำการการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการ แจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ หากผู้ประกอบธุรกิจ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 โดยไม่ได้แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และหากมีการแจ้งแต่เป็นการแจ้งที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน มีโทษตามกฎหมายคือมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
15
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
โรงงานจำพวกที่ 3 การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องยื่นคำขอใดๆ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อน จึงจะเริ่มประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
16
หากไม่ทำการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีโทษ
ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หากมีการตั้งโรงงานขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้ประกอบธุรกิจเริ่มประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ย้อนกลับ
17
อุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมทอผ้าเป็นอุตสาหกรรมขั้นกลาง การตั้งโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทอผ้าหรือการเตรียมเส้นด้ายยืนสำหรับการทอผ้านั้น แบ่งเป็น 3 กรณีคือ กรณีเครื่องจักรไม่เกิน 5 แรงม้า และคนงานไม่เกิน 20 คน ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 1 ไม่ต้องยื่นขออนุญาตตั้งโรงงาน สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน กรณีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และคนงานไม่เกิน 50 คน ซึ่งไม่มีการฟอก ย้อมสี และไม่จัดอยู่ในจำพวกที่ 1 จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 2 (คลิก) กรณีเครื่องจักรเกิน 20 แรงม้าหรือคนงานเกิน 50 คน หรือโรงงานทุกขนาดซึ่งมีการฟอก ย้อมสี จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (คลิก) กลับสู่หน้าหลัก
18
หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ
การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องทำการการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการ แจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ หากผู้ประกอบธุรกิจ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 โดยไม่ได้แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และหากมีการแจ้งแต่เป็นการแจ้งที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน มีโทษตามกฎหมายคือมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
19
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
โรงงานจำพวกที่ 3 การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องยื่นคำขอใดๆ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อน จึงจะเริ่มประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
20
หากไม่ทำการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีโทษ
ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หากมีการตั้งโรงงานขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้ประกอบธุรกิจเริ่มประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ย้อนกลับ
21
อุตสาหกรรมฟอก ย้อม พิมพ์และแต่งสำเร็จ
อุตสาหกรรมนี้เป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการเพิ่มมูลค่าให้กับผ้าผืน การตั้งโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการฟอก ย้อม พิมพ์และแต่งสำเร็จ ไม่ว่าเครื่องจักรในโรงงานจะมีกำลังแรงม้าเท่าใดหรือมีจำนวนคนงานในโรงงานจำนวนเท่าใดก็ตาม จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (คลิก) ตามกฎกระทรวง(พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 กลับสู่หน้าหลัก
22
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
โรงงานจำพวกที่ 3 การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องยื่นคำขอใดๆ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อน จึงจะเริ่มประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
23
หากไม่ทำการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีโทษ
ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หากมีการตั้งโรงงานขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้ประกอบธุรกิจเริ่มประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ย้อนกลับ
24
อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม
อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเป็นอุตสาหกรรมขั้นปลายที่เน้นการใช้แรงงาน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ค่อนข้างสูง แต่การผลิตขึ้นอยู่กับการออกแบบ คุณภาพวัตถุดิบ และคุณภาพแรงงาน การตั้งโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการตัดหรือการเย็บเครื่องนุ่งห่ม แบ่งเป็น 3 กรณี คือ กรณีคนงานไม่เกิน 20 คน จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 1 ไม่ต้องยื่นขออนุญาตตั้งโรงงาน สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน กรณีคนงานไม่เกิน 50 คน และไม่จัดอยู่ในจำพวกที่ 1 จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 2 (คลิก) กรณีคนงานเกิน 50 คน จัดเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (คลิก) กลับสู่หน้าหลัก
25
หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ
การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องทำการการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการ แจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 หากไม่ทำการแจ้งประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 มีโทษ หากผู้ประกอบธุรกิจ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 โดยไม่ได้แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และหากมีการแจ้งแต่เป็นการแจ้งที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน มีโทษตามกฎหมายคือมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
26
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
โรงงานจำพวกที่ 3 การตั้งโรงงานใน - พื้นที่ของชุมชนอุตสาหกรรม - พื้นที่เอกเทศ การตั้งโรงงานใน เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ต้องยื่นคำขอใดๆ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการรายปีตามอัตราค่าธรรมเนียมในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะต้องมีการดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อน จึงจะเริ่มประกอบกิจการได้ เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแล้วต้องทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการจริงไม่น้อยกว่า 15 วัน กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
27
หากไม่ทำการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีโทษ
ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หากมีการตั้งโรงงานขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้ประกอบธุรกิจเริ่มประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ทำการแจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ย้อนกลับ
28
คำขออนุญาตอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการโรงาน
( ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ) การแจ้งทดลองเดินเครื่องจักรก่อนการเริ่มประกอบกิจการโรงงาน(คลิก) การขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน รง.4 (คลิก) การขออนุญาตขยายโรงงาน(คลิก) การแจ้งเพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต แต่ไม่ถึงขั้นขยายโรงงานหรือเพิ่มเนื้อที่อาคารโรงงาน (คลิก) การขอยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงาน(คลิก) การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน(คลิก) การแจ้งเปลี่ยนชื่อโรงงาน หรือชื่อผู้รับใบอนุญาต (คลิก) การออกใบแทนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย(คลิก) การขอย้ายเครื่องจักรบางส่วนที่ติดตั้งในโรงงานไปยังสถานที่อื่นเพื่อประกอบกิจการโรงงานเป็นการชั่วคราว(คลิก) การแจ้งเลิกประกอบกิจการโรงงาน (คลิก) การแจ้งหยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งปี(คลิก) การแจ้งเริ่มประกอบกิจการหลังหยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งปี (คลิก) การแจ้งกรณีมีอุบัติเหตุในโรงงาน (คลิก) การขออนุญาตเปิดประกอบกิจการหลังการปรับปรุงแก้ไขโรงงาน (คลิก) กลับสู่หน้าหลัก
29
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
การแจ้งทดลองเดินเครื่องจักรก่อนการเริ่มประกอบกิจการโรงงาน หลักเกณฑ์และเงื่อนไข เป็นโรงงานจำพวกที่ 3 การทดลองเดินเครื่องจักรก่อนเริ่มประกอบกิจการโรงงานผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการต้องแจ้งวัน เวลา และระยะเวลาการทดลองเดินเครื่องจักรให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบไม่น้อยกว่า 15 วัน ระยะเวลาในการทดลองเดินเครื่องจักรให้เป็นไปตามที่ผู้รับใบอนุญาตแจ้งแต่ต้องไม่เกิน 60 วัน หากไม่ทำการแจ้งทดลองเดินเครื่องจักรก่อนการเริ่มประกอบกิจการโรงงานมีโทษ หากผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ไม่แจ้งทดลองเดินเครื่องจักรก่อนการเริ่มประกอบกิจการโรงงานกฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
30
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
การขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน รง.4 หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีที่ 5 นับแต่ปีที่เริ่มประกอบกิจการ ให้ผู้ขออนุญาตยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อนวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ หากผู้ขออนุญาตยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาตไม่ทันกำหนดเวลา ถ้าประสงค์จะประกอบกิจการโรงงานต่อไป และได้มายื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาตภายในกำหนด 60 วันนับแต่วันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแล้ว ให้ถือว่าได้ยื่นคำขอต่ออายุภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยจะต้องเสียค่าปรับเพิ่มอีกร้อยละ 20 ของค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาต กลับสู่หน้าหลัก
31
การขออนุญาตขยายโรงงาน
การขยายโรงงานคือ การเพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือ เปลี่ยนแปลงเครื่องจักร การเพิ่มหรือแก้ไขส่วนใด ส่วนหนึ่งของอาคารโรงงาน ทำให้มีกำลังรวมเพิ่มขึ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมไม่เกิน 100 แรงม้า หรือกำลังเทียบเท่าไม่เกิน 100 แรงม้า เพิ่มขึ้นตั้งแต่ห้าสิบแรงม้าขึ้นไปในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมเกินกว่า 100 แรงม้า หรือกำลังเทียบเท่าเกินกว่า 100 แรงม้า ทำให้ฐานรากเดิมของอาคารโรงงานฐานใดฐานหนึ่งต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 500 กิโลกรัมขึ้นไป กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
32
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข หากขยายโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาตมีโทษ
ต้องเป็นผู้ผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด เรียบร้อยแล้ว ต้องยื่นคำขอฯ ภายใน 45 วัน นับแต่วันที่สิ้นสุดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เป็นโรงงานจำพวกที่ 3 ที่ตั้งอยู่นอกเขตประกอบการอุตสาหกรรม หากขยายโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาตมีโทษ หากผู้ประกอบกิจการโรงงานขยายโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาต กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ย้อนกลับ
33
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
การแจ้งเพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต แต่ไม่ถึงขั้นขยายโรงงานหรือเพิ่มเนื้อที่อาคารโรงงาน หลักเกณฑ์และเงื่อนไข เป็นการแจ้งการเพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต เครื่องจักรที่ใช้เป็นเครื่องต้นกำลัง หรือพลังงาน ของเครื่องจักรเป็นอย่างอื่นแต่ไม่ถึงขั้นขยายโรงงาน และ/หรือ เป็นการเพิ่มเนื้อที่อาคาร โรงงานออกไป หรือก่อสร้างอาคารโรงงานเพิ่มขึ้นใหม่เพื่อประโยชน์แก่ กิจการของโรงงานนั้นโดยตรง ทำให้เนื้อที่ของอาคารโรงงานเพิ่มขึ้นตั้งแต่ ร้อยละห้าสิบขึ้นไป ในกรณีเนื้อที่ของอาคารโรงงานมีไม่เกินสองร้อยตาราง เมตร หรือเพิ่มขึ้นตั้งแต่หนึ่งร้อยตารางเมตรขึ้นไปในกรณีเนื้อที่ของโรงงาน มีเกินกว่าสองร้อยตารางเมตร เป็นผู้ประกอบการโรงงานจำพวกที่ 3 ต้องแจ้งเป็นหนังสือภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ดำเนินการ กลับสู่หน้าหลัก
34
การขอยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงาน
เป็นกรณีที่มีการกำหนดเงื่อนไขที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานจะต้องปฏิบัติเป็นพิเศษไว้ในใบอนุญาต หากผู้รับใบอนุญาตต้องการยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้เหมาะสม สามารถขอยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงานโดยยื่นคำขอและชี้แจงเหตุผล กลับสู่หน้าหลัก
35
ประกอบกิจการโรงงานมี 2 กรณีดังนี้
การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน การโอนใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงานมี 2 กรณีดังนี้ 1. ผู้รับใบอนุญาตโอนการประกอบกิจการโรงงานให้ในกรณี ให้เช่าหรือให้เช่าซื้อโรงงาน หรือขายโรงงาน 2. กรณีผู้รับใบอนุญาตตาย หรือถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ขอรับใบอนุญาตภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ถือว่ามีการเลิกประกอบกิจการโรงงาน เมื่อทำการโอนแล้วให้ถือว่าผู้โอนได้เลิกประกอบกิจการโรงงานตั้งแต่วันที่โอนการประกอบกิจการโรงงาน ให้เช่าหรือให้เช่าซื้อโรงงาน หรือขายโรงงาน ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยื่นคำขอเพื่อรับโอนใบอนุญาตภายใน 90 วันนับแต่วันที่ผู้รับใบอนุญาตตาย กลับสู่หน้าหลัก
36
หากมีการเปลี่ยนชื่อโดยไม่ได้ทำการแจ้งมีโทษ
การแจ้งเปลี่ยนชื่อโรงงาน หรือชื่อผู้รับใบอนุญาต เมื่อมีการเปลี่ยนชื่อโรงงานหรือชื่อผู้รับใบอนุญาต ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยน หากมีการเปลี่ยนชื่อโดยไม่ได้ทำการแจ้งมีโทษ หากมีการเปลี่ยนชื่อโรงงานหรือชื่อผู้รับใบอนุญาตโดยผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ได้ทำการแจ้งเป็นหนังสือถึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
37
การออกใบแทนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย
ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย ให้ผู้รับใบอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ทราบถึงการสูญหายหรือถูกทำลาย หากใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย โดยผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ได้ยื่นคำขอรับใบแทน กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
38
การขอย้ายเครื่องจักรบางส่วนที่ติดตั้งในโรงงานไปยังสถานที่อื่น
เพื่อประกอบกิจการโรงงานเป็นการชั่วคราว ผู้รับใบอนุญาตซึ่งประสงค์จะย้ายเครื่องจักรบางส่วนที่ติดตั้งในโรงงานไปยังสถานที่อื่นเพื่อประกอบกิจการโรงงานเป็นการชั่วคราว ให้ยื่นคำขออนุญาตต่อผู้อนุญาต พร้อมทั้งแผนผังและรายละเอียดอื่นแสดงเหตุผลประกอบการพิจารณาด้วย โดยที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ลักษณะอาคารและลักษณะภายในของโรงงานต้องถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กลับสู่หน้าหลัก
39
การแจ้งเลิกประกอบ กิจการโรงงาน
กรณีเป็นผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 การแจ้งเลิกประกอบ กิจการโรงงาน แจ้งเป็นหนังสือต่อผู้อนุญาตภายใน 15 วันนับแต่วันเลิกประกอบกิจการโรงงาน ต้องไม่ค้างชำระค่าธรรมเนียมรายปี กรณีเป็นผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันเลิกประกอบกิจการโรงงาน ต้องไม่ค้างชำระค่าธรรมเนียมรายปี กลับสู่หน้าหลัก
40
การแจ้งหยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งปี
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 และจำพวกที่ 3 ที่ได้หยุดดำเนินงานติดต่อกันมาแล้วเกินกว่า 1 ปี ให้ทำการแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 7 วันนับแต่วันพ้นกำหนด 1 ปี การแจ้งเริ่มประกอบกิจการหลังหยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งปี ผู้ประกอบกิจการโรงงานที่ได้แจ้งหยุดการดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่า 1 ปี ภายหลังประสงค์จะประกอบกิจการโรงงานต่อไป ให้แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนเริ่มประกอบกิจการ ถ้าเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 จะต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากหนักงานเจ้าหน้าที่เสียก่อนจึงประกอบกิจการโรงงานได้ กลับสู่หน้าหลัก
41
หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแล้วไม่ทำการแจ้งมีโทษ
การแจ้งกรณีมีอุบัติเหตุในโรงงาน กรณีมีอุบัติเหตุในโรงงานเนื่องจากโรงงานหรือเครื่องจักรของโรงงานไม่ว่าจะเป็นกรณีของโรงงานจำพวกใด ถ้าอุบัติเหตุนั้นเป็นกรณีดังต่อไปนี้ผู้ประกอบกิจการโรงงานมีหน้าที่แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบถึงอุบัติเหตุนั้น 1. กรณีเป็นเหตุให้บุคคลถึงแก่ความตาย เจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ ซึ่งภายหลัง 72 ชั่วโมงแล้วยังไม่สามารถทำงานได้ ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 3 วันนับแต่วันตาย หรือวันครบกำหนด 72 ชั่วโมง แล้วแต่กรณี 2. กรณีเป็นเหตุให้โรงงานต้องหยุดดำเนินงานเกินกว่า 7 วัน ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 10 วันนับแต่วันเกิดอุบัติเหตุ หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแล้วไม่ทำการแจ้งมีโทษ หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นในโรงงาน แล้วผู้ประกอบธุรกิจไม่ทำการแจ้งให้พนักงานเจ้าที่ทราบถึงอุบัติเหตุดังกล่าว กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก
42
ในระหว่างที่ได้รับคำสั่งหยุดประกอบกิจการโรงงาน
การขออนุญาตเปิดประกอบกิจการหลังการปรับปรุงแก้ไขโรงงาน จงใจไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันควร หากผู้ประกอบกิจการโรงงานได้รับคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการชั่วคราวอันเนื่องมาจาก การประกอบกิจการของโรงงานอาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือเดือดร้อนอย่างร้ายแรงแก่บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงาน หรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน ถ้าผู้ประกอบกิจการโรงงานได้ปรับปรุงแก้ไขโรงงาน หรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนดแล้วให้แจ้งเป็นหนังสือว่าได้ปรับปรุงแก้ไขโรงงานหรือปฏิบัติให้ถูกต้องก่อนหรือภายในระยะเวลาที่กำหนด หรือภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ขยายระยะเวลา หากผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ปรับปรุงแก้ไขหรือไม่ปฏิบัติให้ถูกต้อง ภายในเวลาที่กำหนด อาจถูกสั่งให้ปิดโรงงานได้ และในกรณีที่เป็นโรงงานจำพวกที่ 3 คำสั่งปิดโรงงานดังกล่าวมีผลเป็นการเพิกถอนใบอนุญาตด้วย ในระหว่างที่ได้รับคำสั่งหยุดประกอบกิจการโรงงาน เมื่อผู้ประกอบกิจการโรงงานได้รับคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน หรือได้รับคำสั่งให้ปิดโรงงาน แล้วยังทำการประกอบกิจการต่อไปในระหว่างได้รับคำสั่ง กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และปรับอีกวันละ 5,000บาทจนกว่าจะหยุดประกอบกิจการ กลับสู่หน้าหลัก
43
กรณีเลือกประกอบกิจการใน พื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมมีข้อควรพิจารณาดังนี้
การประกอบกิจการโรงงานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอยู่ภายใต้พ.ร.บ.การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 การขออนุญาตต่างๆ อำนาจในการอนุญาตอยู่ที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประเภทของคำขอต่างๆแบ่งออกเป็น 3 หมวดหลักๆ ดังนี้ หมวดการอนุญาตใช้ที่ดิน หมวดการอนุญาตก่อสร้าง หมวดการอนุญาตประกอบกิจการ กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
44
แผนภาพสรุปขั้นตอนการขออนุมัติ อนุญาตใช้ที่ดิน/ก่อสร้าง/ประกอบกิจการ
กรณีเริ่มต้นประกอบกิจการ หมวดการอนุญาตใช้ที่ดิน หมวดการอนุญาตก่อสร้าง เมื่อต้องการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมจะต้องยื่นคำขอใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม(กนอ.01/1) เมื่อได้รับ กนอ.01/2 จะต้องทำการก่อสร้างอาคารโรงงานภายใน 1 ปี ต้องทำการยื่นคำขออนุญาตก่อสร้าง มี 2 วิธี ยื่นแบบปกติ (ยื่นด้วยตนเอง) ยื่นแบบอิเล็กทรอนิกส์ ก่อสร้างอาคารโดยขอรับใบอนุญาตฯจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ก่อสร้างอาคารโดยไม่ขอรับใบอนุญาตฯจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ได้รับใบ กนอ.01/2 ได้รับใบ กนอ.02/2 ได้รับใบ กนอ.02/4 หมวดการอนุญาตประกอบกิจการ เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้ว (กรณีเป็นอาคารควบคุมการใช้ตามกฎหมาย ต้องยื่นคำขอใบรับรองการก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/5) เมื่อผู้ประกอบการประสงค์จะเริ่มประกอบกิจการต้องได้รับใบอนุญาต กนอ.01/2 , กนอ.02/2 , กนอ.02/6 ก่อน แล้วจึงสามารถยื่นคำขอแจ้งเริ่มประกอบกิจการ(กนอ.03/1) ได้ ได้รับใบ กนอ.02/6 ได้รับใบ กนอ.03/2 ย้อนกลับ หน้าถัดไป
45
หมวดการอนุญาตใช้ที่ดิน
คำขอใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.01/1) (คลิก) คำขอทั่วไป (กนอ.01/3) เมื่อผู้ประกอบกิจการได้รับใบอนุญาตใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมแล้วหากประสงค์จะ โอนสิทธิการใช้ที่ดิน(คลิก) เพิ่ม/เปลี่ยนแปลงประเภทการประกอบกิจการ(คลิก)ฃ แก้ไขใบอนุญาต(คลิก) ขอขยายระยะเวลาการเริ่มปลูกสร้างอาคารโรงงาน/ขอขยายระยะเวลาการแจ้งเริ่มประกอบกิจการ(คลิก) ขอคืนสิทธิ/รับคืนสิทธิการใช้ที่ดิน(คลิก) หมวดการอนุญาตก่อสร้าง คำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร (กนอ.02/1)วิธีที่1 (คลิก) หนังสือแจ้งความประสงค์จะก่อสร้างจะก่อสร้างอาคาร ตามมาตรา 39 ทวิ (กนอ.02/3) วิธีที่2(คลิก) คำขอใบรับรองการก่อสร้างอาคาร (กนอ.02/5) (คลิก) คำขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร(คลิก) หมวดการอนุญาตประกอบกิจการ คำขอแจ้งเริ่มประกอบอุตสาหกรรม (กนอ.03/1) (คลิก) คำขออนุญาตประกอบอุตสาหกรรมส่วนขยาย (กนอ.03/3) (คลิก) คำขอใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม ฉบับต่ออายุ (กนอ.03/5) (คลิก) กลับสู่หน้าหลัก
46
คำขอใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.01/1)
เมื่อผู้ประกอบการต้องการลงทุนประกอบกิจการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมจะต้องดำเนินการขออนุญาตใช้ที่ดินเพื่อประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม กนอ.พิจารณาอนุมัติ คำขออนุญาตใช้ที่ดินประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.01/1) รับใบอนุญาต กนอ.01/2 ผู้ประกอบการ ยื่น เมื่อ กนอ.อนุมัติแล้วผู้ประกอบการจะได้รับใบอนุญาตใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.01/2) ยื่นแบบปกติ (ยื่นด้วยตนเอง) ยื่นแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร(OSS) สำนักงานใหญ่ กนอ. ที่สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมที่โรงงานของท่านตั้งอยู่ ยื่นคำขอผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ กลับสู่หน้าหลัก
47
การโอนสิทธิการใช้ที่ดิน การโอนสิทธิการใช้ที่ดิน มีหลายแบบ ได้แก่
การโอนสิทธิการใช้ที่ดินใช้แบบคำขอทั่วไป กนอ.01/3 สามารถทำการโอนสิทธิการใช้ที่ดินหลังจากที่ได้รับหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมแล้ว โดยการให้เช่า การโอนสิทธิการใช้ที่ดิน มีหลายแบบ ได้แก่ โดยให้ความยินยอม โอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ผู้โอนสิทธิการใช้ที่ดินให้ยื่นคำขอทั่วไป (กนอ.01/3) และผู้รับโอนสิทธิการใช้ที่ดิน (ผู้ใช้ที่ดิน) ให้ยื่นคำขอใช้ที่ดินเพื่อประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.01/1) โดยให้ยื่นคำขอในคราวเดียวกัน กลับสู่หน้าหลัก
48
การเพิ่ม / เปลี่ยนแปลงประเภทการประกอบกิจการ
การเพิ่ม / เปลี่ยนแปลงประเภทการประกอบกิจการต้องทำเป็นแบบคำขอทั่วไป(กนอ.01/3)โดยสามารถยื่นคำขอหลังจากที่ได้รับหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมแล้ว เป็นกรณีประสงค์จะเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงประเภทการประกอบกิจการจากที่ได้รับอนุญาตไว้เดิม สำหรับกรณีที่มีการเพิ่มประเภทการประกอบกิจการที่ เพิ่มสายการผลิตใหม่ เพิ่มกำลังเครื่องจักร ต้องมีการก่อสร้างโรงงาน ให้ผู้ประกอบกิจการต้องยื่นคำขอประกอบอุตสาหกรรม(ส่วนขยาย) กนอ.03/3 มาพร้อมกับคำขอทั่วไป กนอ.01/3 ด้วย กลับสู่หน้าหลัก
49
การแก้ไขใบอนุญาต การแก้ไขใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมต้องทำเป็นแบบคำขอทั่วไป(กนอ.01/3)โดยสามารถยื่นคำขอหลังจากที่ได้รับหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมแล้ว การขอเปลี่ยนชื่อผู้รับใบอนุญาต(เนื่องจากจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อตามกฎหมาย) การแก้ไข การขอเปลี่ยนแปลงที่ตั้งสำนักงาน การขอแก้ไขข้อความใดๆในใบอนุญาต กลับสู่หน้าหลัก
50
การขอขยายระยะเวลาการเริ่มปลูกสร้างอาคารโรงงาน/
ขอขยายระยะเวลาการแจ้งเริ่มประกอบกิจการ เมื่อผู้ประกอบกิจการได้รับใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมแล้ว ผู้ประกอบการจะต้อง ทำการเริ่มปลูกสร้างอาคารโรงงานภายใน 1 ปี แจ้งเริ่มประกอบกิจการภายใน 3 ปี หากผู้ประกอบกิจการไม่สามารถเริ่มปลูกสร้างอาคารโรงงาน หรือไม่สามารถแจ้งเริ่มประกอบกิจการได้ภายในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ประกอบกิจการสามารถยื่นคำขอทั่วไป (กนอ.01/3) เพื่อขอขยายระยะเวลาการเริ่มก่อสร้างอาคารโรงงาน หรือ การขอขยายระยะเวลาการแจ้งเริ่มประกอบกิจการ กลับสู่หน้าหลัก
51
การขอคืนสิทธิการใช้ที่ดิน การรับคืนสิทธิการใช้ที่ดิน
การขอคืนสิทธิ/รับคืนสิทธิการใช้ที่ดิน กรณีที่มีการคืนสิทธิการใช้ที่ดินจากการเช่าหรือการให้ความยินยอมเกิดขึ้นเมื่อผู้เช่าไม่ประสงค์จะประกอบกิจการหรือเลิกใช้พื้นที่ ต้องปฏิบัติดังนี้ การขอคืนสิทธิการใช้ที่ดิน ผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้เช่าหรือผู้ได้รับความยินยอมให้ใช้พื้นที่ยื่นคำขอทั่วไป(กนอ.01/3) เมื่อเจ้าหน้าที่พิจารณาคำขอพร้อมเอกสารที่ถูกต้องครบถ้วน และผ่านการอนุมัติ/อนุญาตแล้ว การนิคมอุตสาหกรรมจะมีหนังสือแจ้งยกเลิกใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมและสัญญาการใช้ที่ดิน(ถ้ามี) การรับคืนสิทธิการใช้ที่ดิน ผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ให้เช่าหรือผู้ให้รับความยินยอมให้ใช้พื้นที่ยื่นคำขอทั่วไป(กนอ.01/3) เมื่อเจ้าหน้าที่พิจารณาคำขอพร้อมเอกสารที่ถูกต้องครบถ้วน และผ่านการอนุมัติ/อนุญาตแล้ว การนิคมอุตสาหกรรมจะมีหนังสือแจ้งให้มารับใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม กลับสู่หน้าหลัก
52
คำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร (กนอ.02/1)
เมื่อได้รับใบ กนอ.01/2 จะต้องทำการก่อสร้างอาคารโรงงานภายใน 1 ปี การยื่นคำขออนุญาตก่อสร้าง มี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ก่อสร้างอาคารโดยขอรับใบอนุญาตฯจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร วิธีที่ 2 2. ก่อสร้างอาคารโดยไม่ขอรับใบอนุญาตฯจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ได้รับใบอนุญาต กนอ.02/2 ได้รับใบอนุญาต กนอ.02/4 เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้ว (กรณีเป็นอาคารควบคุมการใช้ตามกฎหมาย ต้องยื่นคำขอใบรับรองการก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/5) ได้รับใบอนุญาต กนอ.02/6 กรณีเป็นอาคารที่เข้าข่ายที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบสภาพอาคาร ต้องยื่นคำขอใบรับรองตรวจสอบอาคาร ได้รับใบอนุญาต ร.1 กลับสู่หน้าหลัก
53
ก่อสร้างอาคารโดยขอรับใบอนุญาตก่อสร้างจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร
วิธีที่1 ก่อสร้างอาคารโดยขอรับใบอนุญาตก่อสร้างจาก กนอ.ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ยื่นคำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร/ดัดแปลงอาคาร(กนอ.02/1) ได้ที่สำนักงานใหญ่ กนอ. หรือสำนักงานนิคมอุตสาหกรรม จากนั้น กนอ.จะพิจารณาความถูกต้องของเอกสารคำขอและแบบแปลน หากตรวจสอบแล้วไม่ถูกต้อง จะออกเอกสารแจ้งรายการที่ต้องแก้ไขทันที เมื่อเอกสารถูกต้องแล้ว ทาง กนอ.จะมีหนังสือแจ้งฯไปยังผู้ประกอบการให้มารับใบอนุญาตฯ(กนอ.02/2)และชำระค่าธรรมเนียม กลับสู่หน้าหลัก
54
สำหรับผู้ประสงค์จะก่อสร้างอาคารโดยไม่ขอรับใบอนุญาตก่อสร้างจาก กนอ
สำหรับผู้ประสงค์จะก่อสร้างอาคารโดยไม่ขอรับใบอนุญาตก่อสร้างจาก กนอ. ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร วิธีที่ 2 ยื่นหนังสือแจ้งความประสงค์ก่อสร้างอาคาร ตามมาตรา 39 ทวิ(กนอ.02/3) แห่งพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 ได้ที่สำนักงานใหญ่ กนอ. หรือสำนักงานนิคมอุตสาหกรรม จากนั้น กนอ.จะพิจารณาความครบถ้วนของเอกสารก่อนแล้วออกใบรับแจ้งความประสงค์จะก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/4) และจะตรวจสอบความถูกต้องของแบบแปลนทั้งหมดภายใน 120 วัน ถ้าแบบแปลนไม่ถูกต้อง กนอ.จะมีหนังสือแจ้งฯไปยังผู้ประกอบการให้แก้ไขเพิ่มเติม กลับสู่หน้าหลัก
55
การขอรับรองการก่อสร้างอาคาร
เมื่อก่อสร้างอาคารเสร็จเรียบร้อยแล้ว กรณีเป็นอาคารควบคุมการใช้ ให้ผู้ประกอบการยื่นคำขอใบรับรองการก่อสร้างอาคาร กนอ.02/5 โดยยื่นคำขอได้ที่ สำนักงานใหญ่ กนอ. หรือสำนักงานนิคมอุตสาหกรรม กนอ.จะทำการตรวจพิจารณาความถูกต้องของเอกสาร แล้วนัดหมายตรวจการก่อสร้างอาคารในพื้นที่ การตรวจหากถูกต้องตามแบบแปลนที่อนุมัติ จะมีหนังสือแจ้งฯ ไปยังผู้ประกอบการให้มารับใบรับรองอาคาร(กนอ.02/6) โดยต้องชำระค่าธรรมเนียมการออกใบรับรองอาคาร 100 บาท กลับสู่หน้าหลัก
56
คำขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร
กรณีเป็นอาคารที่เข้าข่ายที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบอาคาร ตามกฎกระทรวงกำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ พ.ศ.2548 เช่น อาคารโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งชั้นและมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือเป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) เมื่อผู้ประกอบการได้รับใบรับรองการก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/6) มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ให้ผู้ประกอบการยื่นคำขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร สามารถยื่นคำขอได้ที่สำนักงานใหญ่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือสำนักงานนิคมอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)จะทำการตรวจพิจารณาความถูกต้องของเอกสาร และรายงานผลการตรวจสอบอาคารของผู้สอบอาคาร เมื่อเอกสารถูกต้องครบถ้วนและผู้ตรวจสอบอาคารรับรองความปลอดภัยของอาคาร กนอ.จะมีหนังสือแจ้งไปยังผู้ประกอบการให้มารับใบรับรองตรวจสอบอาคาร(ร.1) โดยต้องชำระค่าธรรมเนียมการออกใบรับรองตรวจสอบอาคาร 100 บาท กลับสู่หน้าหลัก
57
เมื่อผู้ประกอบการได้รับใบอนุญาตทั้ง 3 ใบอนุญาตแล้ว
คำขอแจ้งเริ่มประกอบอุตสาหกรรม (กนอ.03/1) เมื่อผู้ประกอบการได้รับใบอนุญาตทั้ง 3 ใบอนุญาตแล้ว ใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม(กนอ.01/2) ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/2) ใบรับรองการก่อสร้างอาคาร(กนอ.02/6) ไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการ กนอ.พิจารณาเอกสาร คำขออนุญาตแจ้งเริ่มประกอบกิจการ (กนอ.03/1) ผู้ประกอบการ ยื่น นัดตรวจโรงงาน หากผลการตรวจโรงงานถูกต้อง มีหนังสือแจ้งไปยังผู้ประกอบการ ยื่นแบบปกติ (ยื่นด้วยตนเอง) ยื่นแบบอิเล็กทรอนิกส์ รับใบแจ้งการประกอบอุตสาหกรรม(กนอ.03/2) ที่ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร(OSS) สำนักงานใหญ่ กนอ. ที่สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมที่โรงงานของท่านตั้งอยู่ ยื่นคำขอผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ กลับสู่หน้าหลัก
58
หลักเกณฑ์ที่เข้าข่ายการขยายการประกอบกิจการ ได้แก่
คำขออนุญาตประกอบอุตสาหกรรมส่วนขยาย (กนอ.03/3) หลักเกณฑ์ที่เข้าข่ายการขยายการประกอบกิจการ ได้แก่ การเพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรทำให้มีกำลังรวมเพิ่มขึ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมไม่เกิน 100 แรงม้า หรือกำลังเทียบเท่าไม่เกิน 100 แรงม้า หรือเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 50 แรงม้าขึ้นไป ในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมเกินกว่า 100 แรงม้า หรือกำลังเทียบเท่าเกินกว่า 100 แรงม้า การเพิ่มหรือแก้ไขส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารโรงงาน ทำให้รากฐานเดิมของอาคารโรงงานฐานใดฐานหนึ่ง ต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 500 กิโลกรัมขึ้นไป การเพิ่มประเภทการประกอบกิจการ หรือเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ จากเดิมที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการ โดยเพิ่มสายการผลิตใหม่ กลับสู่หน้าหลัก
59
คำขอใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม ฉบับต่ออายุ (กนอ.03/5)
ใบอนุญาต ให้ใช้ที่ดินและประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม ให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่ห้านับแต่วันที่ได้รับอนุญาต ก่อนใบอนุญาตจะหมดอายุ 30 วัน กนอ.พิจารณาเอกสาร คำขออนุญาตต่ออายุใบอนุญาต(กนอ.03/5) รับใบอนุญาตให้ใช้ที่ดินฯฉบับต่ออายุ(กนอ.03/6) ผู้ประกอบการ ยื่น มีหนังสือแจ้งไปยังผู้ประกอบการ พร้อมชำระค่าบริการ ยื่นแบบปกติ (ยื่นด้วยตนเอง) ยื่นแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร(OSS) สำนักงานใหญ่ กนอ. ที่สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมที่โรงงานของท่านตั้งอยู่ ยื่นคำขอผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ กลับสู่หน้าหลัก
60
อุตสาหกรรมสิ่งทอ กับ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
อุตสาหกรรมสิ่งทอ กับ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ถูกกำหนดขึ้นโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2558 กำหนดกิจการไว้ทั้งสิ้น 13 ประเภทกิจการหลัก กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอได้ถูกกำหนดให้เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพด้วย โดยกำหนดไว้ในข้อที่ 10 ของประกาศดังกล่าว เจ้าของหรือผู้ประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพแต่ละประเภทต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายที่หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่นมีประกาศกำหนดไว้ กิจการอื่นๆ ที่กำหนดไว้ให้เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น กิจการเลี้ยงสัตว์ กิจการไม้หรือกระดาษ กิจการโลหะหรือแร่ เป็นต้น กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป
61
ใบอนุญาตต่างๆที่เกี่ยวกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) การขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) การออกใบแทนใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) การขอเปลี่ยนแปลง ขยาย หรือลดการประกอบกิจการ สถานที่ หรือ(คลิก) เครื่องจักรของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) การโอนการดำเนินกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) การบอกเลิกการดำเนินกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(คลิก) ย้อนกลับ
62
การขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอดังต่อไปนี้ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2558 กำหนดให้เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เมื่อจะมีการเริ่มประกอบธุรกิจ จะต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพก่อน การปั่นด้าย กรอด้าย ทอผ้าด้วยเครื่องจักร หรือทอผ้าด้วยกี่กระตุก การสะสมปอ ป่าน ฝ้าย นุ่น หรือใยสังเคราะห์ การปั่นฝ้าย นุ่น ใยสังเคราะห์ด้วยเครื่องจักร การทอเสื่อ กระสอบ พรม หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร การเย็บ ปักผ้า หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร การพิมพ์ผ้า และสิ่งทออื่น ๆ การซัก อบ รีด หรืออัดกลีบผ้าด้วยเครื่องจักร การย้อม ฟอก กัดสีผ้าหรือสิ่งทออื่น ๆ โทษ หากมีการดำเนินกิจการดังกล่าวโดยไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กฎหมายกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กลับสู่หน้าหลัก
63
การขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมีอายุ 1 ปี นับแต่วันที่ออกใบอนุญาต ต้องยื่นขอต่ออายุใบอนุญาตก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ หากผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตไม่ได้มายื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาตก่อนวันใบอนุญาตสิ้นสุดแล้ว ต้องดำเนินการขออนุญาตใหม่เสมือนเป็นผู้ขออนุญาตรายใหม่ หากมายื่นขอต่ออายุใบอนุญาตแล้ว แต่ไม่ชำระค่าธรรมเนียมตามอัตราและระยะเวลาที่กำหนด จะต้องเสียค่าปรับเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 20 ของจำนวนเงินที่ค้างชำระ กรณีที่ผู้ประกอบการค้างชำระค่าธรรมเนียมติดต่อกันเกินกว่า 2 ครั้ง เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นหยุดดำเนินการไว้ได้จนกว่าจะเสียค่าธรรมเนียมและค่าปรับจนครบจำนวน กลับสู่หน้าหลัก
64
กรณีใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (แบบ อภ.1)
การออกใบแทนใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สูญหาย กรณีใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (แบบ อภ.1) ถูกทำลาย ชำรุดในสาระสำคัญ ผู้รับใบอนุญาตสามารถยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาต (แบบ อภ.6) ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ณ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตที่สถานประกอบการตั้งอยู่ โดยต้องยื่นคำขอภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุด กลับสู่หน้าหลัก
65
การขอเปลี่ยนแปลง ขยาย หรือลดการประกอบกิจการ สถานที่ หรือเครื่องจักรของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ยื่นคำขอตามแบบ อภ.4 ลักษณะอาคารสถานประกอบการถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร สภาพสุขลักษณะการประกอบการต้องถูกต้องตามหลักเกณฑ์ กลับสู่หน้าหลัก
66
การโอนการดำเนินกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ยื่นคำขอตามแบบ อภ.8 พร้อมเอกสารหลักฐานที่ถูกต้อง มีเงื่อนไขในการยื่นขอโอนการดำเนินกิจการ คือต้องไม่ค้างชำระค่าธรรมเนียม กลับสู่หน้าหลัก
67
การบอกเลิกการดำเนินกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เมื่อผู้รับใบอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบกิจการอีกต่อไป ให้ยื่นคำขอบอกเลิกการดำเนินกิจการตามแบบ อภ.9 โดยต้องยื่นก่อนถึงกำหนดเสียค่าธรรมเนียมครั้งต่อไป ต้องไม่มีค่าธรรมเนียมค้างชำระ กรณีมีค่าธรรมเนียมค้างชำระต้องเสียค่าปรับร้อยละยี่สิบของจำนวนค่าธรรมเนียมที่ค้างชำระ กลับสู่หน้าหลัก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.