ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTorgrim Jensen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผลการดำเนินงานพัฒนาระบบส่งต่อ KPI:ER คุณภาพ PA:ECS จังหวัดมหาสารคาม
นายแพทย์อนันตเดช วงศรียา
2
ผลงาน emergency care system(ECS) จังหวัดมหาสารคาม
ปี 2561 (ตุลาคม-ธันวาคม 2560) เป้าหมาย ผลงาน รพ.มค. ผลงาน จ.มค. ER อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง ในรพ.F2ขึ้นไป <12% 2.03 % 1.83 % ROSC OHCA >30% 18.75 % (9/48) 31.65 % (44/139) (S) Survive to Admission >15% 16.67 % (8/48) - (F2,M) Survive to Refer 38.20 % (34/89) ECS ECS คุณภาพ >70% (รพ) 54.57 ผ่านเกณฑ์100 % (คะแนนเฉลี่ย ) อัตราการตาย มี Ps score > 0.75 (A,S,M1) <1% 0.58% (7/1,198) Severe Traumatic Brian Injury <40% 39.66% (23/58) 9.71% (31/319)
3
อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง
ปี 2561 Triage Level 1+2 Triage Level 1 Triage Level 2 เสียชีวิต (ราย) ทั้งหมด ( ราย) ร้อยละ ( ราย ) ตุลาคม - ธันวาคม 169 9,090 1.85 158 2,162 7.30 11 6,928 0.15
4
(Emergency severity index :ESI triage)
สถิติผู้ป่วยที่มารับบริการห้องฉุกเฉิน ปี 2560 จ.มหาสารคาม บุคลากร FTE EP (2.4 :แสน ปชก = 21 คน) : มี 3 ขาด 19 EN/ENP (4.1 :แสน ปชก = 36 คน) : มี 10 ขาด 26 Paramedic (4.1 :แสน ปชก = 36 คน) : มี 5 (รพมหาวิทยาลัย) ขาด 36 ประเภทผู้ป่วย (ESI triage) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ( ตค – ธค 60) เฉลี่ย ราย/วัน Resuscitation 3,981 8.03 % 4,591 9.52 % 1,504 11.79 % 16.71 Emergency 15,011 30.27 % 16,177 33.53 % 4,802 37.54 % 53.35 Urgency 20,415 41.17 % 19,042 39.47 % 4,883 38.71 % 54.25 Less Urgency 6,400 12.91 % 4,958 10.28 % 805 6.29 % 8.94 Non Urgency 3,777 7.62 % 3,477 7.21 % 798 6.24 % 8.87 TOTAL 49,584 48,245 12,792 เฉลี่ย/วัน(ราย) 135.84 132.17 142.13 (Emergency severity index :ESI triage)
5
ผู้มารับบริการ ER จำแนกตามระดับความเร่งด่วน (ตค.-ธค.2560)
บุคลากร FTE EP 2.4 :แสน ปชก = 21 คน : มี 3 ขาด 19 EN/ENP 4.1 :แสน ปชก = 36 คน มี 10 ขาด 26 Paramedic :แสน ปชก 36 คน มี 5 คน (รพมหาวิทยาลัย) ขาด 36 รพ.ระดับ S,M ผู้มารับบริการ ที่เป็นภาวะวิกฤตฉุกเฉิน มากกว่า Less urgency และ Non urgency Urgent clinic รพ. ระดับ F ผู้ป่วย Less urgency, Non urgency มีจำนวนมากกว่าระดับอื่นๆ OPD นอกเวลา
6
ผลการดำเนินงาน ER crowding รพ.มหาสารคาม ปี 2561 ไตรมาส 1
7
แผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ : ER คุณภาพ ปี 2561
Emergency Care Data Set & System ER Crowding ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา ผู้รับบริการจำนวนมาก 1. พัฒนาศักยภาพ Node 2. พัฒนาระบบปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ Medical director Consult case refer Case EMS Dispatch-Assisted CPR 3. Triage ระยะเวลา รอคอยการ รักษานาน ในกลุ่ม Urgent 1. พัฒนาระบบคัดกรองTriage 2. ขยาย OPD นอกเวลา น 3. Nurse Co-ordinator / Manager ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา พัฒนาระบบข้อมูล จัดทำคู่มือการจัดบริการและพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในห้องฉุกเฉิน การถ่ายทอดนโยบาย บูรณาการฐานข้อมูล IS/PHER/ITEMS Refer/HDC พัฒนามาตรฐาน TEA Unit ( รพ ระดับ S ) จัดตั้ง TEA Unit ,ความพร้อมด้านสถานที่ เครื่องมือ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. แพทย์ EP 2. พยาบาล EN/ENP 3. ไม่มี Paramedic
8
. 2P- ER Safety Goal ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา การให้ข้อมูลผู้รับบริการ
สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย ประตูห้องฉุกเฉิน Safety / กล้องวงจรปิด การจัดการ Violence in ER . /พนักงานรักษาความปลอดภัย Ambulance Safety /. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ อัตรากำลัง 1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load 2. ทบทวนความเหมาะสมของค่าตอบแทน(เสี่ยง) การจัดการความเสี่ยง อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง / Rapid Team คุณภาพการรักษา ER Fast track / ATEC หลักสูตรอบรมแพทย์ ทบทวนคุณภาพการรักษา Audit / Peer Review /. วิจัย / นวัตกรรม . Mortality Conference
9
2P ER Safety Goal การให้ข้อมูลผู้รับบริการ ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข
1. สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด 4. การจัดการ Violence in ER 5. Ambulance Safety 6. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ ตัวอย่างรพ.ชลบุรี การให้ข้อมูลผู้รับบริการ
10
ผลการประเมินตนเอง เกณฑ์ ECS คุณภาพ ปี ๒๕๖๑ จังหวัดมหาสารคาม
Plan วิจัย : วิเคราะห์ การบริการในงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ( ภาระงาน ลักษณะการมารับบริการของผู้ป่วย ) บุคลากร ระบบจัดการ : แผน ECS ในยุทธศาสตร์ พัฒนา ER ต้นแบบ รพช. Refer จัดตั้งศูนย์/ผู้รับผิดชอบ ประสานการส่งต่อ รพช. ทบทวน คู่มือ / ทบทวนการใช้โปรแกรมส่งต่อ Refer back
11
การดำเนินงาน Disaster ปี 2561
1. การประเมินความเสี่ยงโดยใช้ Hospital Safety Index 2. จัดทำแผนสาธารณภัยในโรงพยาบาล 3. การซ้อมแผนและประเมินผลการซ้อม ประเด็นปัญหา แผนพัฒนา การเตรียมความพร้อม Hospital Safety 1. ประเมิน Hospital Safety Index ผลการดำเนินงาน อยู่ระหว่างการจัดทำคู่มือการประเมิน Hospital Safety Index (กรมการแพทย์) ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา 1.ไม่มีคู่มือ การจัดการสาธารณภัย ระดับ โรงพยาบาลและระดับจังหวัด 2. บุคลากร 1. จัดทำคู่มือ 2. แนวทางปฏิบัติ EOC 3. พัฒนาบุคลากร ความรู้ ทักษะ ความเพียงพอ (ทีมMERT /mini MERT) ผลการดำเนินงาน แผน EOC งานพระราชพิธีถวายเพลิงพระศพ แผน EOC พื้นที่อุทกภัย แผน EOC อุบัติเหตุหมู่ ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา การสื่อสาร ความรู้ความเข้าใจ ระดับปฏิบัติ/ บริหาร 1. ฝึกซ้อมสถานการณ์ / EOC 2. ทบทวน/ปรับปรุงคู่มือ 3. การบูรณาการแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการดำเนินงาน ปฏิบัติจริง 3 ครั้ง - กลุ่มชน - อุทุกภัย - เทศกาลปีใหม่ (กล่องการแพทย์ฉุกเฉิน) 2. AAR ความรู้ ความเข้าใจ หน้าที่ การสื่อสาร – การใช้ระบบการสื่อสาร ตามแนวทางที่วางแผนไว้
12
ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS
ไตรมาสที่ 1 ข้อมูล ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐ Triage EMS Refer มาเอง % มาโดยระบบ EMS ALS BLS FR Level 1 167 18 871 131 58.54 Level 2 376 3 384 1,339 2,229 25.50 รวม 543 402 2,210 2,360 28.66 สาเหตุที่ไม่ใช้บริการ EMS อ.เมือง ผู้ป่วย Fast track ที่มาโดย EMS จ.มหาสารคาม Fast track ทั้งหมด มาโดย EMS ร้อยละ Stroke 252 78 30.95 STEMI 65 11 16.92 Severe Head Injury 92 66 71.74 ลำดับ สาเหตุ จำนวน ร้อยละ 1 รีบ 1,165 35.22 2 มีรถส่วนตัว 894 27.03 3 บ้านใกล้ 592 17.90 4 กังวลเรื่องไม่มีรถกลับ 393 11.88 5 ไม่อยากรบกวน รพ. 168 5.08 6 ไม่กล้าขึ้นรถ 96 2.90
13
อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps > 0.75 น้อยกว่า 1%
เดือน เสียชีวิต Admit อัตราเสียชีวิต ตุลาคม 4 372 1.08 พฤศจิกายน 2 445 0.45 ธันวาคม 1 381 0.26 รวม 7 1,198 0.58 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury GCS 13-15 9-12 3-8 เสียชีวิต ทั้งหมด ตค 124 4 10 22 พย 129 5 7 16 ธค 123 6 20 รวม 376 15 23 ( % ) 58
14
“พัฒนาคน ข้อมูล คุณภาพ”
TEA unit ; รพ.มหาสารคาม มีแพทย์ผู้อำนวยการศูนย์ (EP) 1 คน มีพยาบาล nurse coordinator Full-time1คน นักจัดการงานทั่วไป 1 คน มีผอ. TEA unit TEA Nurse Coordinator นักจัดการงานทั่วไป มีสำนักงาน มี Soft ware มีกิจกรรมคุณภาพ รพ.มหาสารคาม (S) / มีชั่วคราว อยู่ระหว่างการก่อสร้าง แนวทางการพัฒนาปี 2561 พัฒนาระบบข้อมูล ฐานข้อมูล ความสมบูรณ์ ทบทวนคุณภาพการบริการ Trauma Audit พัฒนาระบบประสานงานโดย case manager เชื่อม Software TEA unit กับ Hospital Information System (HIS) ส่งออกข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT วิเคราะห์ ผลการดำเนินงาน TEA unit ยังไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ (มีบุคลากร Full Time,1คน / มีสำนักงานชั่วคราว อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนา /ก่อสร้าง) ส่งออกข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT ยังไม่สมบูรณ์ (คุณภาพของข้อมูล) ผล : IS online เชื่อมโยง ข้อมูล PHER : Trauma Audit
15
สถานการณ์การส่งต่อ จ.มหาสารคาม
ปี 59 – 61 (ต.ค. 60 -ธ.ค.60)
16
จ. มหาสารคามส่ง Refer Out นอกเขต (รวมรวมรายเก่า -ใหม่) ปี 59–61 ( ต. ค
ที่มา : HDC รพ.มหาสารคาม และ รพ.ชุมชน Refer Out นอกเขตรายใหม่ (สาขา หัวใจ มะเร็ง ทารกแรกเกิด อุบัติเหตุ)ปี 60 – 61 ( ต.ค.60-ธ.ค.60) Refer ในเขต ศรีนครินทร์/ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ จำนวน 8,637 ครั้ง Refer นอกเขต รวม ศุภมิตร =709 ครั้ง ที่มา : HDC รพ.มหาสารคาม และ รายงานรพ.ชุมชน
17
ผลการดำเนินงาน ปี 61 (1ต.ค.60-31.ธค.60)
ตัวชี้วัด ราย การ ข้อมูล ผลการดำเนินงาน ปี 61 (1ต.ค ธค.60) รพ.มค บรบือ พยัค วาปี โกสุม กันทร นาเชือก นาดูน ยางสี แกดำ เชียงยืน ชื่นชม กุดรัง ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง รายใหม่ (4 สาขา หัวใจ มะเร็ง อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด) เป้าหมาย ลดลงร้อยละ 10 (12 เดือน) หัวใจ มะเร็ง 1 อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด ร้อยละ มะเร็ง1case DX.CA Tongue Referไปรพ.ศูนย์มะเร็งอุดร อุบัติเหตุ1 case DX.Loss of fixation Lt talus Refer ไป รพ.พระมงกุฎเกล้า เนื่องจากไม่มีแพทย์เฉพาะทาง ต่อFoot / knee ในเขต สุขภาพ
18
โรคที่ส่งต่อนอกเขตสุขภาพที่ 7 (รวมรายเก่า-ใหม่) เปรียบเทียบระหว่าง ปี 2559 - 2561(ต.ค.60-ธ.ค.60)
ลำดับ 2559 2560 2561 (ต.ค.60-ธ.ค.60) โรค จำนวน 1 CA ทุกอวัยวะ 102 69 14 2 ลิ้นหัวใจทุกชนิด 23 CKD 16 โรคหัวใจและหลอดเลือด 12 3 Epilepsy โรคทางศัลยกรรมทุกชนิด 36 โรคระบบทางเดินปัสสาวะ 8 4 กระดูกหักทุกชนิด 11 โรคหัวใจทุกชนิด 20 อวัยวะบางส่วนพิการแต่กำเนิด 6 5 13 เนื้อร้ายที่ไม่ใช่มะเร็ง กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 10 จักษุ 9 7 Hepatitis Psychological disease ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ Calculus of kidney Cleft of palate Thrombosis Parotid/thyroid mass ปลูกถ่ายไต Hydrocephalus Systemic lupus erythematosus สัมผัสสารพิษ รวม 199 170 55 ข้อมูล: Refer in ปี 59 – 60 อ้างอิงจากฐานข้อมูล รพ.มหาสารคาม / รายงานจาก รพช.
19
สถานการณ์การรับ-ส่งต่อจังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2559 - 2561(ต. ค
สถานการณ์การรับ-ส่งต่อจังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ (ต.ค.60 - ธ.ค.60) ข้อมูล : Refer in ปี 59-= 60 อ้างอิงจากฐานข้อมูล รพ.มหาสารคาม / ปี 61 (ต.ค.60-ธ.ค.60) อ้างอิงจาก HDC ตามสาเหตุการส่งต่อ Refer back อ้างอิงจากข้อมูลการประสานงานศูนย์refer รพ.มหาสารคาม
20
ที่มา : อ้างอิงจากฐาน HDC
จำนวนครั้งการรับ Refer in แยกตามสถานพยาบาลที่ส่งต่อ ปีงบประมาณ 2559 – 2561 (ต.ค.60-ธ.ค.60) ที่มา : อ้างอิงจากฐาน HDC
21
มีคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด/ระดับเขต
จัดตั้งศูนย์ประสานงานการส่งต่อระดับจังหวัด มีระบบให้คำปรึกษาระหว่างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทุกสาขา ทุกเวร เวรเช้าและ เวรบ่ายสามารถ Consult ระหว่างการส่งต่อมายังแพทย์ EP ที่ รพ. มหาสารคามได้ มีระบบการประสานงานการส่งต่อผู้ป่วย ผ่านเบอร์ตรงศูนย์ส่งต่อในCase วิกฤติฉุกเฉินและเตรียมเวชระเบียนข้อมูลเบื้องต้นของผู้ป่วย จากโปรแกรม Refer Online รอระหว่างส่งต่อจากรพช.ได้ Refer conference จังหวัด/ ทบทวนเหตุผลการส่งต่อ
22
อันดับโรครับ Refer in แผนกผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน รพ. มหาสารคาม (ต. ค
ที่มา : อ้างอิงจากฐาน HDC
23
Refer in อันดับโรคสูงสุด แยกรายรพช. แผนกผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน ปี2561(ต
24
จำนวนครั้งรับ Refer In ในกลุ่มโรคสำคัญ ปี 2561 (ต.ค.60-ธ.ค.60)
A419,R572= Sepsis I I 259= STEMI I630-I64= Stroke J121-J189= Pneumonia K351-K359= Appendicitis S 4200,5250,5260,5280,6260,6250,9240,9250
25
การพัฒนาระบบส่งต่อ ศูนย์ประสานงานการส่งต่อระดับจังหวัด โรงพยาบาลมหาสารคาม มีบุคลากรประจำศูนย์ตลอด 24 ชั่วโมง ปี61 (ผลงาน ๓ เดือน ) ไม่มีการปฏิเสธการส่งต่อในระดับจังหวัด มีเครือข่ายผู้ประสานงานระบบส่งต่อระดับจังหวัดและระดับเขต Refer conference คณะกรรมการระบบส่งต่อจังหวัด ทบทวนเหตุผลการส่งต่อ
26
จำนวนครั้งการส่งRefer Out ในเขตสุขภาพปี 59 - 61 (ต.ค.60-ธ.ค.60)
ที่มา : อ้างอิงจากฐานข้อมูล รพ.มหาสารคาม / รายงานจาก รพช. จำนวนครั้งการส่งRefer Out จากรพ.มหาสารคาม ในเขตสุขภาพแยกราย รพ. ปี 2561 (ต.ค.60-ธ.ค.60) สถานพยาบาล OPD IPD รวม ศรีนครินทร์ 782 120 902 โรงพยาบาลขอนแก่น 454 129 583 ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ 458 75 533 ร้อยเอ็ด 18 8 26 จิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ 53 1 54 สถาบันสุขภาพจิตเด็ก 7 สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี 11 คณะทันตแพทยศาสตร์ มข. 16 สุทธาเวช 62 5 67 1,861 339 2,200 Refer ในเขต ศรีนครินทร์/ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ จำนวน 8,637 ครั้ง Refer นอกเขต รวม ศุภมิตร =709 ครั้ง ที่มา : อ้างอิงจากฐาน HDC แยกตามห้องตรวจรายแผนก
27
ผลการทบทวน sentinel event , referral audit
มีข้อตกลงการส่งต่อในระดับจังหวัดและระดับเขต คุณภาพการดูแลผู้ป่วยขณะส่งต่อ พัฒนาเรื่องการการส่งต่อผู้ป่วย Sepsis นำเสนอในระดับจังหวัด รพช. สามารถ Refer Bypass ผู้ป่วย STEMI ตามข้อตกลงสาขาได้ ผลการดำเนินงาน Refer Bypass ปี 60 รพช มีผู้ป่วย STEMI 167 ราย Refer Bypass 68 ราย (ร้อยละ ) ปี 61 (3 เดือน) รพช มีผู้ป่วย STEMI 74 ราย Refer Bypass case STEMI 40 ราย (ร้อยละ 85.1) *รพ. กุดรังต้องส่งต่อ รพ บรบือก่อนเนื่องจากมีข้อจำกัดด้านอัตรากำลัง
28
โรคที่ส่ง Refer out รพ.ศรีนครินทร์ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ศูนย์ขอนแก่น ปี2561 (ต.ค. 60 – ธ.ค.60)
ลำดับ ศรีนครินทร์ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ศูนย์ขอนแก่น ICD10 โรค จำนวน 1 C22 Malignant neoplasm of liver 39 I21 Acute myocardial infarction 87 C50 Malignant neoplasm of breast 13 2 28 I25 Chronic ischemic heart disease 57 C56 Malignant neoplasm of ovary 12 3 B18 Chronic viral hepatitis 26 I05 Rheumatic mitral valve disease 29 4 C73 Malignant neoplasm of thyroid 22 I48 Atrial fibrillation and flutter 23 M32 Malignant neoplasm of rectum 9 5 E05 Thyrotoxicosis hyperthyroidism 20 I42 Cardio myopathy 17 C34 Malignant neoplasm of liver an 7 6 Systemic lupus erythematous Q21 Congenital malformations of ca 15 C53 Supervision of normal pregnancy N18 Chronic renal failure 14 I47 Paroxysmal tachycardia Malignant neoplasm of bronchus 8 E11 Non-insulin-dependent diabetes 10 C20 Malignant neoplasm of cervix I49 Other cardiac arrhythmias I35 Nonrheumatic aortic valve
29
เหตุผลการส่งต่อ ในเขตสุขภาพ ปี2561(ต.ค.60-ธ.ค.60)
30
แผนการพัฒนาระบบส่งต่อ
ออกเยี่ยมติดตามการดำเนินงานศูนย์ประสานงานการส่งต่อ โดยใช้รูปแบบการนิเทศงานประจำปีในการดำเนินงาน มีแนวทางการส่งต่อผู้ป่วยรายโรคสำคัญตามสาขาภายในจังหวัดและภายในเขตสุขภาพ มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร การให้คำปรึกษาทั้งก่อนส่งต่อ ขณะส่งต่อ ระหว่างสถานบริการผ่านทางโทรศัพท์ผ่านเบอร์ตรงศูนย์ส่งต่อ/ Line ER Line group รายสาขา เช่น STEMI /Ortho / Fax. / Mail / โปรแกรม Refer Online พัฒนาแนวทาง Refer back ในกลุ่มผู้ป่วย Stroke
31
ใช้ฐานข้อมูล HDC เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลการรับส่งต่อผู้ป่วย ร่วมกับ Service Plan รายสาขา
พัฒนาโปรแกรม Refer Online เพื่อการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานบริการในจังหวัดมหาสารคาม วางแผนพัฒนาระบบการตอบกลับข้อมูลผู้ป่วย ตรวจสอบคุณภาพของฐานข้อมูลส่งต่อผู้ป่วย การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยขณะส่งต่อระหว่างหน่วยบริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.