ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
การสัมมนาโครงการย่อยของโรงเรียน “ก้าวสู่แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะ” ณ โรงแรมทีเค พาเลซ หลักสี่ กรุงเทพฯ ระหว่าง 9-10 พฤษภาคม 2562 จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ โทร:
3
Big Picture : ต้นทุนของโครงการตลอด 4 ปี แห่งการพัฒนา
การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ 4 H : Head, Heart, Hand, Health อ.จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี มูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
4
แนวการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส ปี 2562
Scaling up Scaling out วัตถุประสงค์ 1.พัฒนาระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการใน รร. 2.ส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย 3.พัฒนาการเชื่อมโยง โรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่การปรับพฤติกรรมสุขภาพ แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะ ขยายโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส อ.จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี มูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
5
ระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน
นิยาม ระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน การบริหารจัดการอาหารกลางวันและอาหารเสริม(นม)ในโรงเรียนที่ได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ เหมาะสมแต่ละกลุ่มวัย ใช้โปรแกรม TSL รวมทั้งการจัดการฐานข้อมูลติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนทุกคนเป็นระบบ ถูกต้อง สมบูรณ์ และมีการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการโดยโรงเรียนและผู้ปกครองร่วมมือกัน โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐในการผลักดันนโยบายที่จะมีผลต่อการพัฒนาสุขภาพของเด็กวัยเรียนตามแนวทางการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร ตามรอยพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
6
เป้าหมายของโครงการหลักในภาพรวม
เครือข่ายขับเคลื่อนเด็กไทยแก้มใสสู่ความยั่งยืน ระดับพื้นที่ (จังหวัด / อำเภอ) คู่มือการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในการจัดการอาหารโภชนาการครบวงจร แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะ เล่มสรุปถอดบทเรียน ข้อเสนอเชิงนโยบาย (การจัดปัจจัยแวดล้อมทางอาหาร / เครือข่ายนักโภชนาการ)
7
1 2 3 4 Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชนอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 1 1.พัฒนาเครือข่ายโรงเรียน ขยายพื้นที่ 2.พัฒนาระบบและกลไกการสนับสนุนจากองค์กรในพื้นที่ และชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วม คณะกรรมการขับเคลื่อนเด็กไทยแก้มใสสู่ความยั่งยืน ระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ 1 ผลที่คาดหวัง พัฒนากลไกการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนสู่ความยั่งยืน เครือข่ายขับเคลื่อนอาหารและ โภชนาการเด็กไทยแก้มใสระดับ จังหวัดหรือระดับอำเภอหรือระดับ ตำบล จำนวน ....โรงเรียน นักเรียน คน ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสแม่ข่าย พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้ม ใสวิถีชีวิตสุขภาวะชุมชนอย่างเป็น รูปธรรม และสามารถเผยแพร่ผลงาน สู่สาธารณะ เกิดการผลักดันเป็นปฏิญญาชุมชน ในความร่วมมือการจัดการอาหาร โรงเรียนที่มีคุณภาพและปลอดภัย เพื่อสุขภาพเด็กไทยอย่างยั่งยืน เกิดรูปแบบการวางแผน / การ จัดซื้อผัก ผลไม้ปลอดภัย จาก เมนูอาหารกลางวันสู่การเกษตรใน โรงเรียนและเกษตรชุมชน (อย่าง น้อย 2 มื้อ ต่อสัปดาห์) ที่สามารถ เสนอเป็นต้นแบบสู่การขยายผลต่อ ได้ เด็กนักเรียนมีความรอบรู้ด้าน อาหาร โภชนาการและสุขภาพ มี ทักษะการจัดการตนเองในกลุ่มชั้น ป.4-6 ครอบครัวมีความตระหนักรู้และ ตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนไม่อ้วนเพิ่มขึ้นจาก ปีการศึกษา 2560 เล่มรายงานการถอดบทเรียนของ ศูนย์เรียนรู้แม่ข่าย และเครือข่าย ต่อผลการบริโภคผักผลไม้ปลอดภัย เพิ่มขึ้น ทั้งที่บ้านและโรงเรียน ลด ภาวะทุพโภชนาการ และปรับ พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนโดย การมีส่วนร่วมของครอบครัว (นักเรียนได้รับผักปลอดภัยในมื้อ อาหารกลางวันวันละ 1 ทัพพี ผลไม้ 1 ส่วน และรวม 3 มื้อ ผัก วันละไม่ น้อยกว่า 3 ทัพพี ผลไม้ 3 ส่วน) วัตถุประสงค์ Policy Policy ยุทธศาสตร์ที่ 2 2 เพิ่ม 2 ลด เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก -จัดเวทีประชุม อบรม สร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก -สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการขับเคลื่อนในชุมชน 2 เพิ่มเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันโรงเรียน เพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดหวาน มัน เค็ม ลดพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคของนักเรียน พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน Participatory Action - ติดตาม เฝ้าระวัง - จัดเก็บข้อมูลการกินผัก ผลไม้ - รายงานภาวะโภชนาการ (แบบรายงานออนไลน์ ร่วมกับโครงการส่วนกลาง) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาวิธีการจัดการข้อมูล 3 แม่ข่าย – ลูกข่าย พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูล เฝ้าระวัง ติดตาม โดยการมีส่วนร่วมคณะครูและผู้ปกครอง ตัวชี้วัดหลัก Data Management มีรูปแบบและกลไกการสนับสนุนระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการโดยโรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วม อัตราการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย ในเด็กกลุ่มวัยเรียนเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เด็กวัยเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงและ ลดอัตราชุกของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ให้เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมสู่สาธารณะ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จและยั่งยืน นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ ประโยชน์ที่โรงเรียนได้รับ Lesson learned Model แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชน ครบวงจร ส่งเสริมนโยบายด้านอาหารและโภชนาการสู่ความยั่งยืน
8
วัตถุประสงค์ -เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ -เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย -เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก จำนวนเครือข่ายที่สนับสนุนการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน และชุมชน จำนวนเครือข่ายเกษตรปลอดภัยในชุมชนที่ส่งผลผลิตสู่อาหารกลางวันโรงเรียน จำนวนนักเรียนที่ได้บริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย เพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวนครอบครัวนักเรียนที่มีความร่วมมือในการปรับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลง และ ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนของนักเรียนในโรงเรียนแม่ข่าย เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 ผลลัพธ์
9
รายละเอียดกิจกรรมและงบประมาณดำเนินการ
กิจกรรมหลัก รายละเอียดกิจกรรม ผลผลิต ระยะเวลาดำเนินงาน รายละเอียดงบประมาณ (แสดงเป็นตัวคูณ)
10
ระเบียบการเงิน และ ใบสำคัญรับเงิน (ดูรายละเอียดเอกสารแนบ)
ระเบียบการเงิน และ ใบสำคัญรับเงิน (ดูรายละเอียดเอกสารแนบ) ค่าตอบแทน วิทยากร จากภายนอก (เบิกแบบประหยัด ชม.ละ 300 บาท) ค่าอาหารและเครื่องดื่ม รับรองการประชุม อบรม สัมมนา ถอด บทเรียน ค่าพาหนะ ค่าถ่ายเอกสาร ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุอื่นๆ เช่น วัสดุประกอบการเรียนรู้ การอบรม อุปกรณ์ ป้าย สื่อที่เกี่ยวข้อง ใบสำคัญรับเงิน / ใบเสร็จจากร้านค้า การหักภาษี ณ ที่จ่าย 1 % และ นำส่งสรรพากร (เก็บหลักฐาน ใบเสร็จไว้ด้วย) การจัดทำบัญชีการเงิน และส่งเอกสารหลักฐาน / รายงาน การเปิดบัญชีโครงการ การจัดทำสัญญารับทุน (วงเงินที่อนุมัติ ตามบริบทเนื้องานของ แต่ละโรงเรียน) การโอนเงิน ให้โรงเรียน 2 งวด 80 /20
11
ปฏิทินกิจกรรมของโรงเรียนรับทุนปี 2562
1 3 2 9-10 พค. 62 17 พค. 62 ภายใน 7 วัน สัมมนาโครงการย่อยเพื่อให้ข้อเสนอแนะและปรับแก้ไข โครงการฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ส่งโครงการปรับแก้ไข ฉบับสมบูรณ์/ข้อสัญญา พร้อมลงข้อมูลใน Website ให้เป็นปัจจุบัน โอนงบประมาณให้โรงเรียน เมื่อลงข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ในเวบไซต์และส่งข้อสัญญาโครงการครบถูกต้อง 5 4 มิย.-พย. 62 พค.-พย. 62 ส่วนกลางและคณะกรรมการจังหวัด/อำเภอ ออกเยี่ยมติดตามการดำเนินงาน และถอดบทเรียนภายในจังหวัด โรงเรียนดำเนินกิจกรรมตามข้อเสนอโครงการ 6 7 30 พย. 62 20-21 ธค. 62 โรงเรียนส่งรายงานการดำเนินงานพร้อมรายงานถอดบทเรียน เข้าร่วมสัมมนาถอดบทเรียนสรุปโครงการ จัดโดยมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
12
สรุป สิ่งที่จะทำต่อหลังการสัมมนา
๑.ปรับข้อเสนอโครงการย่อยของโรงเรียน ใช้ชื่อโครงการว่า โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชนอย่างครบวงจร โรงเรียน จังหวัด โดยทำตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้ มีประเด็นต่างๆครบตามที่ได้รับการอบรมจากการสัมมนา ทั้งสองวัน และ ข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ๒. ส่งเป็นไฟล์ word และ pdf. โดย upload เข้าทาง ในช่องของโรงเรียน ภายในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๓. กลับไปทบทวนว่าได้ key ข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการ ของโรงเรียนได้ครบถ้วน ถูกต้องแล้วหรือยังนับจากปีการศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑ ๔. มูลนิธิ มอส. และ สสส. จะมีการออกหนังสือแจ้งหน่วยงานต้นสังกัดทราบ (กระทรวงศึกษา-สพฐ. และ กระทรวงมหาดไทย – กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รวมทั้ง หน่วยงาน / กระทรวงสนับสนุนต่างๆ ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงพม. กระทรวงวิทย์ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำนักนายกรัฐมนตรี และ เอกชนที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
13
สรุป สิ่งที่จะทำต่อหลังการสัมมนา (ต่อ ๑)
๕. หลังจากมีการรับทุนและดำเนินงานไประยะหนึ่งที่จะประเมินได้ว่า โรงเรียนแม่ข่ายและโรงเรียนเครือข่ายมีความพร้อม ทาง สสส.จะออก หนังสือรับรองโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส แจ้งหน่วยงานต้นสังกัดให้ ทราบต่อไป ๖. คณะทำงานจะจัดทำคู่มือพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสตาม รอยพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่าง ครบวงจรตั้งแต่ปีที่ ๑-๕ เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปขยายผลทั่วประเทศ (มีผู้แทนโรงเรียนภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ร่วมเป็นคณะทำงาน) – อ.ไพโรจน์ กระโจมทอง เป็นแกน ๗. โรงเรียนแม่ข่ายและโรงเรียนเครือข่ายส่งรายงานข้อมูลออนไลน์ และ เอกสาร ตามที่ทีมพี่เลี้ยงจะส่งหนังสือแจ้ง ไปพร้อมกับการทำสัญญารับทุน
14
สรุป สิ่งที่จะทำต่อหลังการสัมมนา (ต่อ ๒)
๘. โรงเรียนแม่ข่ายและเครือข่ายรับการ ตรวจเยี่ยมเสริมพลัง (จะทำแผน กำหนดการแจ้งไป) ๙. โรงเรียนเตรียมสรุปผลงาน จากการถอดบทเรียน มานำเสนอ ในเวที ระดับประเทศ ช่วงระหว่าง ธค. (ศุกร์-เสาร์-อาทิตย์) ?? - Poster presentation นิทรรศการ - Oral presentation ๑๐.มีระบบการประเมินให้คะแนน เพื่อคัดเลือก โรงเรียนแหล่งเรียนรู้ รับ ถ้วยพระราชทาน และ รางวัลเกียรติยศจากกรมต้นสังกัด ในปี ๒๕๖๓
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.