ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPierre-Yves Lebrun ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
สุภัทรา นาคะผิว มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์
2
ยุติการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเอดส์ Zero Discrimination
การเลือกปฏิบัติ หมายถึง การกระทำหรืองดเว้นการกระทำใดๆในลักษณะแบ่งแยก กีดกัน หน่วงเหนี่ยว จำกัดโอกาส ส่งผลให้บุคคลหรือกลุ่มคนไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพ อันพึงมีพึงได้ เพราะเหตุแห่งความแตกต่างมาจากถิ่นกำเนิด เพศ อายุ ความพิการ สีผิว เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา การศึกษา ความคิดเห็นทางการเมือง สถานภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม
3
กรอบการดำเนินงานเพื่อลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ และ การส่งเสริมคุ้มครองสิทธิ
เป้าหมาย ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 สร้างความเข้าใจเรื่องการตีตรา เพื่อไม่มีการเลือกปฏิบัติ ดูแลคุ้มครองสิทธิ เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ Social & Policy environment การสื่อสารสาธารณะ “Normalize HIV” การขับเคลื่อนเชิงนโยบายกฎระเบียบ คช.ปอ. + คณะ อนุกรรมการฯ การส่งเสริมการนำแนวปฏิบัติแห่งชาติฯ ไปใช้ การจัดสภาวะแวดล้อมและปรับระบบบริการเพื่อไม่มี S-D ในสถานบริการสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพ สถานบริการสุขภาพฯ/ศึกษา/ยุติธรรม ฯลฯ การสนับสนุนกลไกคุ้มครองสิทธิ การสนับสนุนเครือข่ายคุ้มครองสิทธิจังหวัด Organization & Network การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อให้บุคลากรมีความเข้าใจการตีตราและไม่เลือกปฏิบัติ การช่วยเหลือทางกฎหมาย การแทรกแซงทางสังคม (Social sanction) ฯลฯ การพัฒนาศักยภาพกลุ่ม PLHIV+& KAP เข้าใจสิทธิ ลดการตีตราภายในตนเอง เห็นศักยภาพตนเอง และมีทักษะการจัดการปัญหา เข้าใจเรื่องสิทธิและมีส่วนร่วมในการคุ้มครองสิทธิเพื่อน “นักกฎหมายเท้าเปล่า” Individual M & E การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ S-D การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการละเมิดสิทธิฯ Context นโยบายรัฐบาล งบประมาณ ค่านิยมทางสังคมวัฒนธรรม กลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่างๆ อื่นๆ
4
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ(1)
ระดับนโยบาย กฎหมาย การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดการเลือกปฏิบัติ - การพัฒนากฎหมายส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้าน เอดส์ภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล - การสื่อสารสาธารณะ Normalize HIV - การจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอสำหรับการ ดำเนินงานด้านลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ -
5
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(2)
ระดับสถาบัน/องค์กร/เครือข่าย - การพัฒนากลไกการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ระดับจังหวัด - พัฒนาระบบการรับเรื่องร้องเรียน การบันทึกข้อมูลการร้องเรียน เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนดำเนินงาน - การบังคับใช้แนวปฏิบัติแห่งชาติเรื่องเอดส์ในสถานที่ทำงาน และในสถานศึกษา หน่วยงานรัฐทุกหน่วยงานต้องเริ่มก่อน ต้อง เป็นแบบอย่าง - การเพิ่มขีดความสามารถให้กับภาคประชาสังคมและกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบในการทำงานด้านลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ - การสนับสนุนให้ภาคประชาสังคมและผู้ได้รับผลกระทบมีส่วนร่วมในการจัดบริการด้านเอดส์และสุขภาพ (Com-led Health services-CLHS)
6
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(3)
ระดับบุคคล การสนับสนุนการทำงานกับผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี ผู้ได้รับผลกระทบ กลุ่ม เปราะบาง เพื่อลดการตีตราภายใน (Reduce Self stigma)
7
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(4)
การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลด้านยุติการเลือกปฏิบัติ
8
เรียนด้วยกันได้ HIV ทำงานด้วยกันได้ อยู่ร่วมกันได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.