งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย
บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ประธานสภาพัฒนาการเมือง ศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรรมการวิชาการ สถาบันพระปกเกล้า

2 รัฐธรรมนูญและโครงสร้างทางการเมือง
ความหมายของรัฐธรรมนูญ * กฎหมาย กฎเกณฑ์ เอกสารทางกฎหมายขั้นสูงสุด แบบแผนพื้นฐานทางกฎหมาย * อาจเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ * กำหนดรูปแบบของรัฐและรัฐบาล * ลักษณะและแนวทางเกี่ยวกับรัฐ * วางหลักการใช้อำนาจอธิปไตย หลักการปกครองประเทศ * การจัดตั้ง การดำเนินการใช้และการสืบทอดอำนาจในรัฐ

3 ลักษณะพิเศษของรัฐธรรมนูญ 4 ประการ
1.ความเป็นกฎหมายสูงสุด เหนือกฎหมายทั้งปวง 2.กำหนดหลักการและวิธีการในการปกครองประเทศตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจต่างๆ 3.กำหนดหลักประกันเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน 4.ความเป็นกฎหมายหลักในการใช้บังคับ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขและการตีความที่มีลักษณะพิเศษ แตกต่างไปจากกฎหมายธรรมดา

4 ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
1. ด้านกฎหมาย 2. ด้านการเมือง 3. ด้านสังคม 4. ด้านเศรษฐกิจ

5 ขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม
* ความหมายของรัฐธรรมนูญนิยม(Constitutionalism) * ความเป็นมาของขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม - Magna Carta ค.ศ กฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ - รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ค.ศ ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ค.ศ. 1789

6 เป้าหมายของขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม
1. กำจัดระบอบเผด็จการ สร้างสรรค์ประชาธิปไตย 2. กำหนดกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน-แน่นอน 3. การสร้างเสถียรภาพและประสิทธิภาพแก่สถาบันทางการเมือง 4. หลักประกันเสรีภาพของประชาชน

7 เนื้อหาของรัฐธรรมนูญ
1. การจัดการอำนาจอธิปไตย 2. การจัดระเบียบการปกครอง 3. การรับรองสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน 4. การแสดงถึงอุดมการณ์แห่งรัฐ

8 1.รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี
รูปแบบของรัฐธรรมนูญ 1.รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี

9 โครงสร้างอำนาจทางการเมือง
1. องค์อธิปัตย์ 2. ผู้ปกครอง 3. อำนาจรัฐหรืออำนาจทางการเมือง

10 สถานะทางกฎหมายของผู้ปกครอง
1. การเป็นตัวแทนของรัฐ 2.ความชอบธรรมของผู้ปกครอง 3. ผู้ปกครองในฐานะผู้ใช้อำนาจมหาชน

11 การควบคุมอำนาจรัฐ 1. ระบอบรัฐธรรมนูญ - รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
- แบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจ - รัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย - รัฐบาลที่ชอบธรรม

12 ระบบนิติรัฐ (Rule of Laws)
1. กฎหมายอยู่เหนือสิ่งอื่นใด 2. ขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่ของรัฐถูกกำหนดไว้ เป็นที่แน่นอน 3. สถาบันศาลมีความเป็นอิสระอย่างแท้จริง

13 การปกครองแบบประชาธิปไตยโดยผู้แทนราษฎร
1. ความหมาย 2. แนวคิดและความเป็นมา 3. การแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตย

14 รูปแบบการใช้อำนาจอธิปไตย
1. รูปแบบรัฐสภา (Parliamentary System) 2. รูปแบบประธานาธิบดี (Presidential System) 3. รูปแบบกึ่งประธานาธิบดี (Semi- Presidential System) 4. รูปแบบรัฐสภาที่นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชน

15 รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย
พัฒนาการของรัฐธรรมนูญไทย 1. ยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 2. ยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

16 แนวคิดรัฐธรรมนูญไทยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
1. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พ.ศ.1826 ปฐมรัฐธรรมนูญของไทย 2. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 5 3. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 6 4. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 7

17 รัฐธรรมนูญไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศเป็นการชั่วคราวมี 7 ฉบับ คือ 1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ.2475 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490 3. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502 4. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2515 5. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2520 6. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2549

18 รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศ เป็นการถาวรมี 11 ฉบับ คือ
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2511

19 รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศเป็นการถาวรมี 11 ฉบับ (ต่อ)
6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

20 วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทย
เผด็จการ กึ่งประชาธิปไตย ประชาธิปไตย 1.พ.ร.บ.รัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 2. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 3. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2515 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2490 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2495 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2492  3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2517

21 วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทย (ต่อ)
เผด็จการ กึ่งประชาธิปไตย ประชาธิปไตย 4. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2520 5. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2511 5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2519 6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2521 7.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2549 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

22 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google