งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

DENGUE HEMORRHAGE FEVER

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "DENGUE HEMORRHAGE FEVER"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 DENGUE HEMORRHAGE FEVER
โรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ DENGUE HEMORRHAGE FEVER

2 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ข้อมูลจากระบบรายงานเร่งด่วน สำนักระบาดวิทยา(ณ 20พย.55)
มีค. เมย. กค. ตค. พย. จำนวนผู้ป่วย(ราย) 3817 6311 23313 52008 63358 อัตราป่วย (แสนปชก.) 5.99 9.88 36.34 81.42 99.19 เสียชีวิต (ราย) 5 6 27 50 63 อัตราป่วยตาย(ร้อยละ) 0.01 0.10 0.12

3 อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2550-2555 จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ
อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ ต่อแสนปชก.

4 เปรียบเทียบอัตราป่วยไข้เลือดออก ประเทศไทยและจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555 จำแนกรายเดือน

5 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จ.ศรีสะเกษ
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จ.ศรีสะเกษ ราย

6 ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต ปี 2555 ประเทศไทย
ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต ปี ประเทศไทย

7 ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จำแนกตามกลุ่มอายุ
ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี จำแนกตามกลุ่มอายุ กลุ่มอายุผู้ป่วยไข้เลือดออก เรียงจากมากไปหาน้อย : 10-14,5-9 ,15-24,0-4, 25-34,35-44,45-54, 55-64และ65+ปี (ประเทศไทยและศรีสะเกษ)

8 อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ (ณ 19 พย
อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ (ณ 19 พย.55)

9 ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ข้อมูลจากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7

10 ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ
พบเป็น D1= 2ราย D4=2 ราย

11 จุดเน้นการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2556 งานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 6 มาตรการ
1.อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.พัฒนาข่าวกรอง พยากรณ์และเตือนภัยไข้เลือดออก 4.พัฒนากลไกและขั้นตอนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง 5.พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยี่ทันสมัยในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมไข้เลือดออก 6.พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการโรคติดต่อนำโดยแมลง

12 อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 5 กิจกรรม
1.สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายระดับตำบลในการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน(IVM) 2. สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยวปลอดลูกน้ำ 3. สนับสนุน พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบยั่งยืน(PAR) 4.เครือข่ายระดับท้องถิ่นนำ พรบ.สาธารณสุขมาใช้ลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคไข้เลือดออก 5.เร่งรัดอำเภอดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก(สุ่มสำรวจค่าดัชนีความชุกลูกน้ำ 3 รอบ กพ.,พค.,สค.)

13 รายชื่อพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดศรีสะเกษ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดศรีสะเกษ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอขุขันธ์ อำเภอภูสิงห์

14


ดาวน์โหลด ppt DENGUE HEMORRHAGE FEVER

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google