งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอบรมการใช้งานระบบบัญชีบริหาร (Controlling)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอบรมการใช้งานระบบบัญชีบริหาร (Controlling)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอบรมการใช้งานระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP โครงการการเงินการบัญชี การจัดซื้อจัดหา การบริหารพัสดุ และการบริหารทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล Deloitte Consulting Ltd 4-5 , 7-8 April 2011

2 แนวทางการจัดอบรมและการวัดผล (Training and Evaluation)
เวลาการอบรม เช้า 9.00 น – น บ่าย น หรือ ครบตามเป้าหมายในวันนั้น ๆ การเข้าอบรมขอให้ผู้เข้าอบรมเข้าอบรมให้ครบทุกหัวข้อในระบบงานที่รับผิดชอบ (อย่าขาด) ระหว่างการสอน หรือสิ้นวันหรือเมื่อจบหัวข้อ หากมีคำถามหรือข้อสงสัย สามารถแจ้งหรือสอบถาม Key User และ ที่ปรึกษาได้ ประเมินผลการเรียน โดยใช้แบบฝึกหัด (Exercise) มีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดให้เพื่อเป็นการฝึกทักษะแก่ผู้เข้าอบรม ให้ผู้เข้าอบรมทุกท่านพยายามทำแบบฝึกหัดทุกวันให้เสร็จก่อนกลับ และให้ส่ง Exercise คืนที่ผู้สอนทุกวัน เฉลยแบบฝึกหัดทุกบท สามารถ Download ได้ที่ ผู้สอนจะตรวจ Exercise รวบรวมคะแนนเพื่อประเมินผล แล้วส่งผลกลับให้กับผู้เข้าอบรมในภายหลัง Training Environment ทุกคนจะได้ User ID ของตัวเอง ให้ใช้เป็น User Login ของแต่ละคนตลอดช่วงเวลาการอบรม End User Training User Name : MUERPCOxx (01-57) (xx = ลำดับที่เซ็นต์ชื่อ) Password : Mahidol Client : 800 สำหรับการ Training

3 Ground Rule

4 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

5 ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview & Enterprise Structure)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบความแตกต่างของระบบบัญชีบริหาร และ ระบบัญชีการเงิน เพื่อให้เข้าใจภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร เพื่อให้เข้าใจถึงความเชื่อมโยงของระบบบัญชีบริหารและระบบอื่นๆบนระบบ MU-ERP เพื่อให้เข้าใจถึงการเชื่อมโยงภายในของระบบบัญชีบริหาร เพื่อให้เข้าใจโครงสร้าง Enterprise Structure ของระบบบัญชีบริหาร

6 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
ความแตกต่างระหว่างระบบบัญชีการเงิน และระบบบัญชีบริหาร Financial Accounting Module จะเป็นระบบงานเพื่อการบัญชีการเงิน ซึ่งเป็นการบัญชีที่จัดทำขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินและบัญชีในรูปแบบของงบการเงินแก่บุคคลภายนอกองค์กร Controlling Module เป็นระบบงานเพื่อการบัญชีบริหารหรือการบัญชีเพื่อการจัดการ ซึ่งเป็นการบัญชีที่จัดทำขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลที่ใช้ในการควบคุมและวิเคราะห์การดำเนินงานภายในองค์กร CO Controlling (ระบบงานบัญชีบริหาร) Cost center reports Profit Center Accounting Internal Order reports Balance Financial Accounting (ระบบงานบัญชีการเงิน) IAS FI Financial GAAP Sheet Profit & loss (P&L) Accounting

7 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
ระบบบัญชีบริหาร เป็นระบบที่สนับสนุนการวิเคราะห์รายได้-ค่าใช้จ่าย ในมุมมองต่างๆ เช่น วิเคราะห์รายได้ค่าใช้จ่ายในมุมมองพันธกิจ หลักสูตร หรือ โครงการ เพื่อใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ ข้อมูลในระบบบัญชีบริหาร มีความเชื่อมโยงกับระบบบัญชีการเงิน(FI) ระบบจัดซื้อ (PU) และระบบพัสดุ (IM) โดยผ่านการบันทึกบัญชีของระบบบัญชีแยกประเภท (FI-GL) โดยอัตโนมัติ FI PU/ IM HR Automatic AM CO AP GL AR

8 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
Cost Center Accounting Profitability Analysis (PA) Internal Order Accounting

9 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
1. การจัดการข้อมูลหลัก (Master Data) 2. การบันทึกรายการ (Transaction) 3. การประมวลผล สิ้นงวด (Periodic Processing) 4. การรายงาน ( Reporting) Cost Center (CTR) Internal Order (IO) Statistical Key Figures (SKF) Actual Posting Plan Posting Allocation

10 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
การเชื่อมโยงของระบบบัญชีบริหาร กับ ระบบอื่นๆ และเชื่อมโยงภายในระบบบัญชีบริหาร FM Report HR AM FI IM PU ในระหว่างเดือน: รายการ รายได้-ค่าใช้จ่าย จะถูกบันทึกผ่านระบบต่างๆ เข้ามายังศูนย์ต้นทุน/โครงการ โดยอัตโนมัติ สิ้นงวดบัญชี : ระบบบัญชีบริหารทำการปันส่วน / โอน รายได้ค่าใช้จ่าย ตามขั้นตอนดังนี้ ปันส่วนค่าใช้จ่ายจากศูนย์ต้นทุน ไปยังโครงการ ตามพันธกิจ โอนรายได้ค่าใช้จ่าย จากโครงการ ไปยังระบบวิเคราะห์กำไร โอนรายได้จากศูนย์ต้นทุนไปยังระบบการวิเคราะห์กำไร วิเคราะห์รายงาน : ทำการวิเคราะห์รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย ในมุมมองต่างๆ

11 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
ศูนย์ต้นทุน (Cost Center) หน่วยงานต่างๆ ตามผังองค์กร ซึ่งศูนย์ต้นทุนสร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ รายได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นของแต่ละหน่วยงาน โดยที่แต่ละส่วนงานจะประกอบด้วยศูนย์ต้นทุนดังนี้ สำนักงานคณบดี / สนง.ผู้อำนวยการ ซึ่งภายใต้ สำนักงานคณบดี / สนง.ผู้อำนวยการ สามารถแบ่งย่อยตาม ฝ่าย / งาน / หน่วย ได้ 1 ระดับ ภาควิชา / กลุ่มสาขาวิชา หรือ หน่วยงานที่เทียบเท่า ภายใต้ สำนักงานคณบดี / สนง. ผู้อำนวยการ หรือ ภาควิชา / กลุ่มสาขา สามารถแบ่งย่อยตามพันธกิจ 1000- มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนงาน ภาควิชา/กลุ่มสาขาวิชา - พันธกิจรวม สนง.คณบดี /สนง.ผู้อำนวยการ - พันธกิจรวม ฝ่าย / งาน / หน่วย พันธกิจ (การศึกษา , วิจัย , บริการวิชาการ , ทำนุบำรุงฯ , บริการสุขภาพ , อื่นๆ)

12 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
ใบสั่งงานภายใน (Internal Order) แบ่งย่อยตาม หลักสูตร/โครงการ ต่างๆ ภายใต้พันธกิจ พันธกิจการศึกษา (หลักสูตรการศึกษา) พันธกิจวิจัย พันธกิจบริการวิชาการ พันธกิจทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พันธกิจบริการสุขภาพ พันธกิจอื่น ๆ การศึกษา วทบ. (เคมี) วทม. (ฟิสิกส์) ...... วิจัย โครงการวิจัย เรื่อง …….. เรื่อง ……. บริการวิชาการ โครงการ อบรมสัมมนา ทำนุบำรุงฯ ลอยกระทง ….... บริการสุขภาพ ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก

13 1. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร
Allocation/ Settlement คือการปันส่วนหรือการโอน รายได้-ค่าใช้จ่าย เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางตรง และค่าใช้จ่ายทางอ้อม ในมุมมองต่างๆ Cost Center Internal Order Cost Center Internal Order Cost Center Internal Order Cost Center Internal Order Cost Center หมายเหตุ: การปันส่วนรายได้ค่าใช้จ่ายไม่มีผลกระทบกลับไปยังระบบบัญชีการเงิน

14 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

15 2. โครงสร้าง CO Structure
โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) Operating Concern : MU00 มหาวิทยาลัยมหิดล CO- CO- PA PA FM area : 1000 CO- CO- CO- CO- Controlling area : 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล FM FI CCA CCA IO IO Company code : 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล FI FI Purchasing organization Plant : 1010 1000 Plant : 2010 PU PU Plant : 1020 A IM IM A A Plant : 2020

16 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

17 ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting- CE)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์ของการใช้งานรหัสบัญชีต้นทุน ทราบความแตกต่างระหว่าง Primary cost element และ Secondary cost element ทราบวัตถุประสงค์ของการใช้กลุ่มรหัสบัญชีต้นทุน สามารถ เรียกดู รหัสบัญชี บนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ เรียกดู กลุ่มรหัสบัญชี บนระบบ MU-ERP ได้

18 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
รหัสบัญชีหลัก และ รหัสบัญชีรอง FI CO G/L accounts Primary Cost elements รหัสบัญชีหลัก รหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป Primary Cost element P & L accounts Balance sheet accounts รายได้/ค่าใช้จ่าย งบดุล Accounts posted Expense accounts to directly, such as bank accounts Secondary Cost elements รหัสบัญชีรอง Revenue account Assessment Accounts posted Internal order settlement to indirectly, such Internal activity allocation as reconciliation accounts

19 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
รหัสบัญชีหลัก และ รหัสบัญชีรอง Financial Accounting 1 รหัสบัญชี สินทรัพย์ 2 รหัสบัญชี หนี้สิน 3 รหัสบัญชี ส่วนทุน 4 รหัสบัญชี รายได้ 5 รหัสบัญชี ค่าใช้จ่าย Primary Cost element Secondary Cost element 4 รหัสบัญชี รายได้ 5 รหัสบัญชี ค่าใช้จ่าย 8 รหัสบัญชี ………. Controlling Primary Cost Element (รหัสบัญชีหลัก) เพื่อรองรับการบันทึกบัญชีผ่านมายังระบบบัญชีบริหาร Secondary Cost Element (รหัสบัญชีรอง) สร้างไว้สำหรับการผ่านรายการบัญชีเพื่อการบริหาร เช่นการปันส่วนหรือโอน รายได้/ค่าใช้จ่าย

20 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
บัญชีหลัก (Primary Cost Element) คือข้อมูลบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่ายของบัญชีบริหาร โดยจะเป็นรหัสบัญชีเดียวกับรหัสบัญชีแยก ประเภททั่วไป การสร้างบัญชีหลัก(Primary Cost Element) จะถูกสร้างโดยอัตโนมัติจาก รหัสบัญชีแยกประเภท Acct from Acct to Cost Element Category Group Cost Element Category Description 1 รายได้ 1: Primary Costs/Cost-reducing revenues ค่าใช้จ่าย

21 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
GL Account vs บัญชีหลัก (Primary Cost Element) Automatic Create

22 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
รหัสบัญชีรอง (Secondary Cost Element) คือรหัสบัญชีที่ใช้เฉพาะในระบบบัญชีบริหารเท่านั้นและไม่ปรากฏในบัญชีแยกประเภททั่วไป (Financial Accounting) โดยรหัสบัญชีรองใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปันส่วน หรือ โอน รายได้ ค่าใช้จ่าย ของศูนย์ ต้นทุน/ใบสั่งงานภายใน และใช้ในการโอนปิดรายได้ ค่าใช้จ่าย ของใบสั่งงานภายใน ประเภทของรหัสบัญชี (Cost Element Category) ที่ต้องใช้งาน สามารถจำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ รหัสบัญชีรองเพื่อการปันส่วนจากศูนย์ต้นทุน – ประเภทของรหัสบัญชีคือ “42” รหัสบัญชีรองเพื่อใช้ในการโอนปิดรายได้ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน - ประเภทของรหัสบัญชีคือ “21” รหัสบัญชีรองเพื่อใช้ในการบันทึกรายได้ค่าใช้จ่ายวิชาเลือก – ประเภทของรหัสบัญชีคือ “43”

23 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
โครงสร้างข้อมูลบัญชีรอง Secondary Cost Element (Coding Structure) 8 X X XXX (6 Digits) 4-6 Running Number : (เริ่มจาก 000) 3 ประเภทรหัสบัญชี: (1-5 = Category 42 , 6-9 = Category 21 ) 2 หมวดบัญชี: (4 = บัญชีรายได้ , 5 = บัญชีค่าใช้จ่าย , 8 = Activity Type Allocation) 1 หมวดบัญชี: 8 = หมวดรหัสบัญชีรอง หมายเหตุ: ประเภทรหัสบัญชี: 1 - ปันส่วนรายได้ค่าใช้จ่ายภายในส่วนงาน (ค่าใช้จ่ายทางตรง) ปันส่วนรายได้ค่าใช้จ่าย จากส่วนงานสนับสนุน (ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) 6 - โอนปิดรายได้ค่าใช้จ่ายภายในส่วนงาน (ค่าใช้จ่ายทางตรง) โอนปิด รายได้ค่าใช้จ่าย จากส่วนงานสนับสนุน (ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) 8 - โอนรายได้ค่าใช้จ่ายทางตรงจากหลักสูตรของบัณฑิตฯไปยังส่วนงาน โอนรายได้ค่าใช้จ่ายทางอ้อมจากหลักสูตรของบัณฑิตฯไปยังหลักสูตรส่วนงาน 0 - ไม่เกี่ยวข้องกับการปันส่วน ** ค่าใช้จ่ายทางอ้อม หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ถูกปันส่วนมาจากส่วนงานสนับสนุน **

24 ช่วงเลขที่ของบัญชีบริหาร
3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE) วัตถุประสงค์ ช่วงเลขที่ของบัญชีบริหาร Cost Element Category สำหรับการปันส่วนจากระบบบัญชีศูนย์ต้นทุน (CCA) จากศูนย์ต้นทุน ไปยัง ศูนย์ต้นทุน (CCA => CCA) จากศูนย์ต้นทุน ไปยัง ใบสั่งงานภายใน (CCA => IO) จากศูนย์ต้นทุน โอนไประบบการวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (CCA => PA) 8 4 1 X X X สำหรับบัญชีหมวดรายได้ 8 5 1 X X X สำหรับบัญชีหมวดค่าใช้จ่ายทางตรง 8 5 2 X X X สำหรับบัญชีหมวดค่าใช้จ่ายทางอ้อม 42 สำหรับการโอนปิดรายได้ และค่าใช้จ่ายจากระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order) ไปยังระบบงานการวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (Profitability Analysis) (IO => PA) 8 4 6 X X X 8 5 6 X X X 8 5 7 X X X 21 ไปยังใบสั่งงานภายในอื่น ๆ (IO => IO) (กรณีหลักสูตรของบัณฑิตฯ ไปยังหลักสูตรของส่วนงาน) 8 4 8 X X X 8 5 8 X X X 8 5 9 X X X

25 คำอธิบายรหัสบัญชีรองสำหรับการปันส่วน
3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE) รหัสบัญชีรอง (Secondary Cost Element) รหัสบัญชีรอง (Secondary Cost Element) คำอธิบายรหัสบัญชีรองสำหรับการปันส่วน วัตถุประสงค์ Category 851000 หมวดเงินเดือน ปันส่วนค่าใช้จ่ายทางตรงระหว่างศูนย์ต้นทุน 42 851001 หมวดค่าจ้างประจำ 851002 หมวดค่าจ้างชั่วคราว 851003 หมวดค่าตอบแทน 851004 หมวดใช้สอย 852000 ปันส่วนค่าใช้จ่ายทางอ้อมระหว่างศูนย์ต้นทุน 852001 852002 852003 852004 856000 โอนค่าใช้จ่ายทางตรงจาก IO ไปยัง PA 21 856001 856002 856003 856004 857000 โอนค่าใช้จ่ายทางอ้อมจาก IO ไปยัง PA 857001 857002 857003 857004 ตัวอย่าง

26 MI00000 ค่าใช้จ่าย MI00001 เงินเดือน MI00002 ค่าจ้างประจำ
3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE) กลุ่มรหัสบัญชี (Cost Element Group) Cost Element Group คือ กลุ่มรหัสบัญชีในระบบัญชีบริหาร โดยสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์สำหรับเรียกดูรายงาน รายได้ ค่าใช้จ่าย ตามต้องการ และ เพื่อจัดกลุ่มรหัสบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่าย ที่ต้องการปันส่วน MI00000 ค่าใช้จ่าย Cost Element Group MI เงินเดือน เงินเดือนข้าราชาการ Cost Element เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับ เงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย MI ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างประจำ ค่าตอบแทนรายเดือนเงินประจำตำแหน่ง

27 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
กลุ่มรหัสบัญชี (Cost Element Group) M X XX XXX (7 Digits) 5-7 ลำดับที่: Running Number 3-4 ส่วนงาน: ส่วนงานที่ขอสร้างกลุ่มรหัสบัญชี (00 = สร้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย) 2 วัตถุประสงค์: I = สำหรับดูรายงาน, S = สำหรับการปันส่วน 1 ผู้ใช้งาน : M = ใช้งานสำหรับผู้ใช้งาน Cost Element Group Description MS00001 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนเงินเดือน MS00002 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าจ้างประจำ MS00003 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าจ้างชั่วคราว MS00004 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าตอบแทน MS00005 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าใช้สอย MS00006 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าวัสดุ MS00007 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าสาธารณูปโภค MS00008 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าครุภัณฑ์ MS00009 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าที่ดินสิ่งปลูกสร้าง (ค่าเสื่อมราคา) MS00010 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนค่าอุดหนุน MS00011 ค่าใช้จ่ายเพื่อปันส่วนงบกลาง รายจ่ายอื่น ตัวอย่าง

28 3. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting: CE)
กลุ่มรหัสบัญชี (Cost Element Group) Cost Element Group Cost Element Group Cost Element Cost Element Group Cost Element

29 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 1.0 Cost Element Master V.EUT.doc Exercise: TX CO 1.0 การบริหารข้อมูลหลักรหัสบัญชีบริหาร V.EUT.doc

30 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

31 ระบบการบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting- CCA)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจการออกแบบศูนย์ต้นทุน และ โครงสร้างศูนย์ต้นทุน ทราบความแตกต่างระหว่าง Statistical Object และ Real Object เข้าใจขั้นตอนการปันส่วนรายได้ ค่าใช้จ่าย ของระบบบัญชีศูนย์ต้นทุน ทราบวัตถุประสงค์ของการใช้เลขทางสถิติ (Statistical Key Figure) สามารถเรียกดูรายงานรายได้ ค่าใช้จ่ายของศูนย์ต้นทุนได้ สามารถ เรียกดูข้อมูลหลักศูนย์ต้นทุน บนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ เรียกดูกลุ่มข้อมูลหลักศูนย์ต้นทุน บนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ เรียกดูข้อมูลหลักเลขทางสถิติ บนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ เรียกดูค่าจริงและ ค่าประมาณการเลขทางสถิติ บนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ เรียกดูวงรอบการปันส่วนรายได้ค่าใช้จ่ายของระบบบัญชีศูนย์ต้นทุนได้

32 การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างมาตรฐาน ศูนย์ต้นทุน เลขหลักทางสถิติ ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle) การบันทึกการปันส่วน(Cycle Execution) การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การเรียกดูรายงาน

33 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การแบ่งกลุ่มส่วนงานบนระบบ MU-ERP 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล C01 สำนักงานอธิการบดี C21 สถาบันโภชนาการ C02 บัณฑิตวิทยาลัย C22 สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล C03 คณะทันตแพทยศาสตร์ (B) C23 สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว C04 คณะเทคนิคการแพทย์ C24 ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก (B) C05 คณะพยาบาลศาสตร์ C25 ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา C06 คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี (B) C28 ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ C07 คณะแพทยศาสตร์ศิริราช (B) C29 หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล C08 คณะเภสัชศาสตร์ C30 วิทยาลัยนานาชาติ C09 คณะวิทยาศาสตร์ C31 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ C10 คณะวิศวกรรมศาสตร์ C32 วิทยาลัยการจัดการ C11 คณะเวชศาสตร์เขตร้อน C33 วิทยาลัยศาสนศึกษา C12 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ C34 สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ C13 คณะสัตวแพทยศาสตร์ C35 คณะศิลปศาสตร์ C14 คณะสาธารณสุขศาสตร์ C36 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร C15 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ C37 สำนักงานสภามหาวิทยาลัย C16 วิทยาลัยราชสุดา C38 วิทยาเขตกาญจนบุรี C17 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา C39 คณะกายภาพบำบัด C18 สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน C40 ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา C19 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม C41 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี C20 สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย C42 ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม

34 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างมาตรฐาน (Standard Hierarchy) Standard Group/Node (กลุ่มศูนย์ต้นทุนมาตรฐาน) มหาวิทยาลัยมหิดล C01 – สนง.อธิการบดี C02 – บัณฑิตวิทยาลัย C03 – คณะทันตแพทย์ สนง.อธิการบดี สนง.คณบดี กองคลัง งานทรัพยากรบุคคล กองกฏหมาย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ กองพัฒนาคุณภาพ งานพัสดุ Cost Center กองวิเทศ งานบริหารและธุรการ กองบริหารงานทั่วไป งานคลัง ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา

35 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
โครงสร้างมาตรฐาน (Standard Hierarchy) กลุ่มศูนย์ต้นทุนมาตรฐาน (Node / Standard Hierarchy) ศูนย์ต้นทุน (Cost Center) รายละเอียด

36 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
สำนักงานคณบดี / สนง.ผู้อำนวยการ ซึ่งภายใต้ สำนักงานคณบดี / สนง.ผู้อำนวยการ สามารถแบ่งย่อยตาม ฝ่าย / งาน / หน่วย ได้ 1 ระดับ ภาควิชา / กลุ่มสาขาวิชา หรือ หน่วยงานที่เทียบเท่า ภายใต้ สำนักงานคณบดี / สนง. ผู้อำนวยการ หรือ ภาควิชา / กลุ่มสาขา สามารถแบ่งย่อยตามพันธกิจ 1000- มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนงาน ภาควิชา/กลุ่มสาขาวิชา - พันธกิจรวม สนง.คณบดี /สนง.ผู้อำนวยการ - พันธกิจรวม ฝ่าย / งาน / หน่วย พันธกิจ (การศึกษา , วิจัย , บริการวิชาการ , ทำนุบำรุงฯ , บริการสุขภาพ , อื่นๆ)

37 C XX XX X X X 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
โครงสร้างของศูนย์ต้นทุน C XX XX X X X (8 Digits) พันธกิจ: (1=การศึกษา, 2=วิจัย, 3=บริการวิชาการ, 4=ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม, 5=บริการสุขภาพ , Z = อื่นๆ , 0 = พันธกิจรวม) 8 7 หน่วย: (ถ้าต้องการเก็บข้อมูลในระดับต่ำกว่าหน่วยงาน ถ้าไม่มีกำหนดให้เป็นรหัส 0) ฝ่ายและงาน: (ถ้าต้องการเก็บข้อมูลในระดับต่ำกว่าหน่วยงาน ถ้าไม่มีกำหนดให้เป็นรหัส 0) 6 4-5 หน่วยงาน: (กอง ,ศูนย์, ,สำนักคณบดี,ภาควิชา, หน่วยงานที่เทียบเท่าภาควิชา ) 2-3 ส่วนงาน: (สำนัก, คณะ, สถาบัน, วิทยาลัย, ศูนย์/กลุ่มภารกิจ, วิทยาเขต) เรียงลำดับตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องกำหนดเลขที่หนังสือออก ปัจจุบันมี 40 ส่วนงาน 1 C = Cost Center

38 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
กลุ่มศูนย์ต้นทุน (Cost Center Alternative Group) คือ การจัดศูนย์ต้นทุนเป็นกลุ่มย่อย โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล เรียกดูรายงาน ใช้ในวงรอบการปันส่วนค่าใช้จ่าย เพื่อระบุศูนย์ต้นทุนผู้ส่งและผู้รับ ใช้เพื่อการบันทึกรายการต่างๆ โดยการสร้างกลุ่มศูนย์ต้นทุนสามารถจัดกลุ่มศูนย์ต้นทุนแตกต่างจากกลุ่มศูนย์ต้นทุนมาตรฐานได้ กลุ่มศูนย์ต้นทุนมาตฐานจะถูกสร้างเป็นกลุ่มศูนย์ต้นทุนโดยอัตโนมัติ Standard Hierarchy Alternative Group Residence Vacation Accommodation

39 ตัวอย่าง X XX XXXX (7 Digits)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างของกลุ่มศูนย์ต้นทุน X XX XXXX (7 Digits) 4-7 ลำดับที่: Running Number (ลำดับที่ของรหัสกลุ่มศูนย์ต้นทุน) 2-3 ส่วนงาน: (ส่วนงานที่ขอสร้างกลุ่มศูนย์ต้นทุน) 1 ประเภทกลุ่มศูนย์ต้นทุน: I = Information , S = Sender , R = Receiver ข้อมูลหลัก (Coding Value) ยกตัวอย่าง เช่น Cost Center Group No. Cost Center Group Name I010001 กลุ่มศูนย์ต้นทุนสำหรับดูรายงานของสำนักงานอธิการบดี S010001 กลุ่มศูนย์ต้นทุนที่ใช้ในการส่ง คชจ. ของสำนักงานอธิการบดี R010001 กลุ่มศูนย์ต้นทุนที่ใช้สำหรับรับ คชจ. ของสำนักงานอธิการบดี I040001 กลุ่มศูนย์ต้นทุนสำหรับเรียกดูรายงานของคณะเทคนิคการแพทย์ ตัวอย่าง

40 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
กลุ่มศูนย์ต้นทุน (Cost Center Group) กลุ่มศูนย์ต้นทุนตามโครงสร้างมาตรฐาน (Standard Hierarchy กลุ่มศูนย์ต้นทุน (Alternative Hierarchy

41 Cost Center Group Cost Center Group Cost Center Group
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) กลุ่มศูนย์ต้นทุน (Cost Center Group) Cost Center Group Cost Center Group Cost Center Cost Center Group Cost Center

42 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 2.0 Cost Center Master Data V.EUT.doc Exercise: TX CO 2.0 การบริหารข้อมูลหลักศูนย์ต้นทุน V.EUT.doc

43 Periods 1 2 3 . . . 12 พิ้นที่ใช้สอย 20 งบประมาณรายได้ 1300 1355 1275
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) เลขทางสถิติ (Statistical Key Figures) ตัวเลขทางสถิติที่กำหนดให้กับศูนย์ต้นทุน/โครงการ เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ เพื่อเป็นเกณฑ์ในการปันส่วนค่าใช้จ่าย จากศูนย์ต้นทุนหนึ่งไปยังศูนย์ต้นทุนหรือไปยังโครงการต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลเชิงสถิติในระบบ เช่น จำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ , จำนวนบุคลากร , พื้นที่ใช้สอย ประเภทของเลขหลักทางสถิติ (Categories) Category 01 = ค่าคงที่ (Fixed) ค่าคงที่ มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก Category 02 = ค่ารวม (Total) ค่ามีการเปลี่ยนแปลงทุกเดือน Periods 1 2 3 . . . 12 พิ้นที่ใช้สอย 20 งบประมาณรายได้ 1300 1355 1275 1325 Cat. 01 Cat. 02

44 ตัวอย่าง XXX XXX (5,6 Digits)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างเลขทางสถิติ (Statistical Key Figures) XXX XXX (5,6 Digits) 4-6 ลำดับที่ : Running Number 1-3 รหัสย่อหน่วยนับ Statistical Key Figure Description UOM UOM Description PRS001 จำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษา PRS คน PRS002 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา PRS003 จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา PRS004 จำนวนเจ้าหน้าที่/บุคคลากร PRS005 จำนวนผู้รับบริการตรวจสุขภาพ PJ001 จำนวนโครงการ PJ โครงการ M2001 พื้นที่การทำงาน (ตารางเมตร) M2 ตารางเมตร HR001 จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน HR ชั่วโมง THB001 จำนวนเงินรายได้ THB บาท EA001 จำนวนชิ้นงานที่ได้ EA อัน ตัวอย่าง

45 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
กลุ่มเลขทางสถิติ (Statistical Key Figures Group) กลุ่มตัวเลขทางสถิติ ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ เพื่อเรียกดูรายงาน เพื่อใช้สำหรับการบันทึกรายการ

46 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 3.0 SKF Master Data V.EUT.doc Exercise: TX CO 3.0 การบริหารข้อมูลหลักเลขหลักทางสถิติ V.EUT.doc

47 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ประเภทกิจกรรม (Activity Type) Activity Type ใช้เพื่อประโยชน์ในการบันทึกรายได้ค่าใช้จ่ายระหว่างกัน ซึ่งการบันทึกรายได้ค่าใช้จ่ายของ Activity Type จะไม่กระทบกับระบบบัญชีการเงิน สำหรับ MU-ERP ออกแบบ Activity Type เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อบันทึกรายได้ค่าใช้จ่ายวิชาเลือก ไปยังหลักสูตร หลักสูตร A ภาควิชา-XX ค่าใช้จ่าย 20 PRS รายได้ วิชาเลือก ราคา = 10 THB / PRS หลักสูตร B 10 PRS ค่าใช้จ่าย Dr. รายได้ / ค่าใช้จ่าย วิชาเลือก (IO) Dr. รายได้ / ค่าใช้จ่าย วิชาเลือก (IO) Cr. รายได้ / ค่าใช้จ่าย วิชาเลือก (CTR)

48 MTID 308 Medical Illustrations MTID 309 Laws of Public Health
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างประเภทกิจกรรม (Activity Type) XX XX XX (6 Digits) 5-6 ลำดับที่ : Running Number 3-4 รหัสหน่วยงาน รหัสส่วนงาน 1-2 รหัสประเภทกิจกรรม ชื่อสั้น ชื่อยาว 040101 MTID 308 MTID 308 Medical Illustrations 040102 MTID 309 MTID 309 Laws of Public Health 040103 MTID 310 MTID 310 Data Processing 040104 MTID 404 MTID 404 Pharmacology ตัวอย่าง

49 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
กลุ่มประเภทกิจกรรม(Activity Type Group) กลุ่มประเภทกิจกรรมใช้เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ เพื่อเรียกดูรายงาน เพื่อใช้สำหรับการบันทึกรายการ

50 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 4.0 Activity Type Master Data V.EUT.doc Exercise: TX CO 4.0 การบริหารข้อมูลหลัก Activity Type V.EUT.doc

51 การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างมาตรฐาน ศูนย์ต้นทุน เลขหลักทางสถิติ ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle) การบันทึกการปันส่วน(Cycle Execution) การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การเรียกดูรายงาน

52 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
Statistical VS Real Object Real Object Statistical Object วิเคราะห์ข้อมูล เป็นเจ้าของ เป็นเจ้าของรายได้/ค่าใช้จ่าย สามารถปันส่วนรายได้/ค่าใช้จ่ายได้ ไม่มีสิทธิ์ ไม่ใช่เจ้าของ รายได้/ค่าใช้จ่ายนั้น ไม่สามารถปันส่วนรายได้/ค่าใช้จ่าย ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ข้อมูลเท่านั้น

53 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
Statistical VS Real Object Cost Origin MM MM PU FI FI AM Real Objects Statistical Objects Statistical Cost Statistical Cost Cost Center Cost Center Center Center CO CO Internal Internal Statistical Statistical Orders Orders Order Order Profit Center Profit Center

54 Automatically Transfer
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) การบันทึกรายการ (Posting Logic) G/L Account (P&L) Amount Controlling Object (Cost Center) Cost element (420000) CO Document # FI Document # G/L Account (Bal. Sheet) 113100 FI Data Entry: Item 001 - G/L Account (P&L) - Amount - Controlling Object (CTR) Item 002 - G/L Account (Bal. Sheet) Automatically Transfer

55 Automatically Transfer
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) การบันทึกรายการ (Posting Logic) FI CO Income statement account 403000 Balance sheet account 113100 Cost origin: Cost center XY Debiting under Cost element Cost center 1000-- Automatically Transfer

56 Automatically Transfer
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) การบันทึกรายการ (Posting Logic) Depreciation Valuation adjustment Cost origin: Cost center XY Debiting under Cost element FI CO Depreciation on a machine AM ~~ Cost Center XY Automatically Transfer

57 Automatically Transfer
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) การบันทึกรายการ (Posting Logic) FI CO Material consumption Material stock Cost origin: Cost center XY Debiting under Cost element MM Material issued from stock ~~ Cost Center XY Automatically Transfer

58 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ประเภทของหน่วยงาน ของสำนักงานอธิการบดี ศูนย์ต้นทุน/หน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) คือหน่วยงานที่ไม่มีรายได้ของตนเอง และกระจายรายจ่ายไปให้กับส่วนงานทั่วไป รวมถึงกระจายให้กับบางหน่วยงานของสำนักงานอธิการบดีที่มีการหารายได้ของตนเอง ตัวอย่างหน่วยงานสนับสนุน เช่น กองคลัง , กองบริหารการศึกษา หน่วยงานปฏิบัติการ (Service Cost Center) คือหน่วยงานที่มีการหารายได้ของตนเอง และรับปันส่วนค่าใช้จ่ายจากสำนักงานอธิการบดี โดยหน่วยงานปฎิบัติการ จะไม่ปันส่วนค่าใช้จ่ายให้กับส่วนงานทั่วไป ตัวอย่างหน่วยงานปฎิบัติการ เช่น ศูนย์บริหารสินทรัพย์ ,ศูนย์บริหารทรัพย์สินทางปัญญา , ศูนย์พัฒนาปัญญาคม

59 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ประเภทของหน่วยงาน ของส่วนงานทั่วไป ศูนย์ต้นทุน/หน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) คือหน่วยงานที่ไม่มีรายได้ของตนเอง ทำงานเพื่อสนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในส่วนงาน และกระจายรายจ่ายไปยังหน่วยงานอื่นภายใต้ส่วนงาน ตัวอย่างหน่วยงานสนับสนุน เช่น สำนักงานคณบดี และ งานต่างๆภายใต้สำนักงานคณบดี เป็นต้น หน่วยงานปฏิบัติการ (Service Cost Center) คือหน่วยงานที่มีการหารายได้ของตนเอง หรือมีผลผลิตของตนเองชัดเจน และรับปันส่วนค่าใช้จ่ายจากสำนักงานฯ ตัวอย่างหน่วยงานปฎิบัติการ เช่น ภาควิชา ,โรงพยาบาล , หอพัก เป็นต้น

60 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
หลักการบันทึกรายได้ ศูนย์ต้นทุน/หน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) หน่วยงานปฏิบัติการ (Service Cost Center) การบันทึกรายได้ ทั้ง เงินงบประมาณ และ เงินรายได้ ให้ถือแนวปฎิบัติเดียวกัน ดังนี้ รายได้ที่มาจากการหารายได้ของตนเอง เช่น รายได้ค่าเช่าคอนโด ของศูนย์บริหารสินทรัพย์ ให้บันทึกตรงที่ ศูนย์ต้นทุนของ ศูนย์บริหารสินทรัพย์ ได้โดยตรง รายได้ที่ไม่เป็นการหารายได้ของตนเอง เช่น รายได้จากงบประมาณแผ่นดิน (งบประมาณแผ่นดิน,อุดหนุนทั่วไป ,อุดหนุนเฉพาะกิจ, ไทยเข้มแข็ม) ให้บันทึกรายได้ที่ศูนย์ต้นทุน “สำนักงาน-พันธกิจ 0” ของส่วนงานนั้น แต่ะ ถ้ารู้พันธกิจ ให้ระบุศูนย์ต้นทุน สำนักงาน-พันธกิจนั้นๆ * การบันทึกรายได้เข้า IO ให้ระบุตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ถ้ารายได้นั้นมีโครงการรองรับ ให้บันทึกเข้าโครงการนั้น เช่น รายได้วิจัย ของโครงการวิจัย * รายละเอียดพันธกิจ 0 = พันธกิจรวม , 1 = การศึกษา, =วิจัย , = บริการวิชาการ , = ทำนุบำรุงฯ 5 =บริการสุขภาพ , Z = อื่นๆ

61 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
หลักการบันทึกรายได้ กรณี Cost Center Internal Order 1. รายได้ค่าเช่าคอนโด ของ ศูนย์บริหารสินทรัพย์ C – OP:0 อาคารชุด Z ไม่มีโครงการ 2. รายได้งบประมาณอุดหนุนทั่วไป C – OP:0 สนง.อธิการบดี 3. รายได้จากงบประมาณเงินอุดหนุนวิจัย C OP:2สนง.อธิการบดี 4. รายได้จากงบประมาณเงินอุดหนุนวิจัย ของ โครงการวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ของ คณะพยาบาลศาสตร์ C NS:2 สนง.วิจัยและบริการวิชาการ โครงการวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

62 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
หลักการบันทึกรายการ รายได้/ค่าใช้จ่าย : ในระบบ MU-ERP จะต้องระบุศูนย์ต้นทุน และ โครงการ คู่กันเสมอ โครงการ พันธกิจ หน่วยงาน/ภาควิชา 1. 2. 3. 4. 5. ส่วนงาน 5 3 สำนักงานคณบดี พ.0 ภาควิชา พ. 0 ภาควิชา พ. 0 3 พันธกิจ 1 พันธกิจ 1 4 พันธกิจ 1 2 2 พันธกิจ 2 พันธกิจ 2 พันธกิจ 2 โครงการ พ.2 โครงการ พ.2 1 1 โครงการ พ.1 โครงการ พ.1

63 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การประมาณการ เลขทางสถิติ (Statistical Key Figures Planning) ภาควิชารังสีเทคนิค ภาควิชาจุลชีววิทยา PLAN ภาควิชาปรสิตวิทยา Fixed PRS002 จำนวนบุคลากร 100 คน 120 คน 80 คน Total THB001 เงินงบประมาณ 250 M 200 M 150 M Period: 1 to 12 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 120 Fixed ระบุค่า = 120 120 Total

64 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การประมาณการ เลขทางสถิติ (Statistical Key Figures Planning) Period: 2 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 127 [(120*11) ]/12 Fixed ระบุค่า = 200 310 (10*11) + 200 Total Period: 2 to 12 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 193 [120+ (200*11)] / 12 Fixed ระบุค่า = 200 210 (10+200) Total ผลรวม = 200

65 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การบันทึกค่าจริงเลขทางสถิติ (Actual Statistical Key Figures) ภาควิชารังสีเทคนิค ภาควิชาจุลชีววิทยา ภาควิชาปรสิตวิทยา ACTUAL Fixed PRS002 จำนวนบุคลากร 100 คน 120 คน 80 คน Total THB001 เงินงบประมาณ 250 M 200 M 150 M Period: 1 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total หมายเหตุ: Period จะถูกกำหนดตาม Posting Date 120 Fixed 120 120 Total

66 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การบันทึกค่าจริงเลขทางสถิติ (Actual Statistical Key Figures) Period: 1 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 120 Fixed 120 120 Total Period: 2 Fiscal Year: 2010 Cost Center: C P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 193 [(120)+(200*11)]/12 Fixed 320 ( ) Total

67 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การแก้ไขค่าเลขทางสถิติ (ในกรณีที่บันทึกผิดพลาด) Actual Plan ให้ระบุตัวเลขที่ต้องการให้เป็น Fixed ให้ระบุตัวเลขที่ต้องการเพิ่ม/ลด (ถ้าต้องการลดให้ใส่ค่าติดลบ) Total จำนวนเดือนที่เหลือ * ค่าที่ต้องการ

68 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ต้องการแก้ไขค่า ประมาณการ SKF ของ ศูนย์ต้นทุน C Period 2 to 12 จาก 200 เป็น 210 Period: 2 to 12 Fiscal Year: 2010 P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total Fixed 210 210 202 [(120)+(210*11)]/12 Total 2,310 2,430 [120+(210*11]) 210 Fixed Total Period: 2 Fiscal Year: 2010 P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 ต้องการแก้ไข ค่าจริง SKF ของ ศูนย์ต้นทุน C Period 2 จาก 200 เป็น 210 210 210 202 [(120)+(210*11)]/12 330 ( ) 10 210

69 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การประมาณการราคาประเภทกิจกรรม (Activity Output Price Planning) Period :1 – 4 Year : ภาควิชารังสีเทคนิค ภาควิชาจุลชีววิทยา PLAN 040201 วิชาเลือก A 150 THB / PRS 040301 วิชาเลือก B 200 THB / PRS หมายเหตุ: กำหนดราคา ต่อ คน ต่อ เดือน หลักการคำนวณราคาวิชาเลือก (เบื้องต้น คือ ให้ใช้รายได้ เป็นตัวกำหนดราคา , ราคา = รายได้) ตัวอย่าง : วิชาเลือก A นักศึกษา 1 คน เรียน 3 หน่วยกิต ราคาหน่วยกิตละ 200 THB ระยะเวลาเรียน 4 เดือน การคำนวณราคาวิชาเลือก A ต่อ นักศึกษา 1 คน ต่อ 1 เดือน รายได้ = 3 * = 600 THB per 4 Months ราคา = 600 / 4 = บาท ต่อ คน ต่อ เดือน

70 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
เครื่องมือช่วยวางแผน (Planning Tool) Plan data Copy: Cost Centers Profitability Segments . . Plan 2011 Version 0 Actual data Actual 2010 Plan 2010 Revaluation

71 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 5.0 Actual & Plan SKF(Cost Center) V.EUT.doc TN CO 6.0 Actual SKF Upload V.EUT.doc TN CO 7.0 Planning Aids V.EUT.doc TN CO 8.0 Plan Activity Type V.EUT.doc Exercise: TX CO 5.0 การบันทึกรายการในศูนย์ต้นทุน V.EUT.doc TX CO 6.0 การ Upload Actual SKF V.EUT.doc TX CO 7.0 Planning Aids V.EUT.doc TX CO 8.0 Plan Activity Type V.EUT.doc

72 การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างมาตรฐาน ศูนย์ต้นทุน เลขหลักทางสถิติ ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle) การบันทึกการปันส่วน(Cycle Execution) การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การเรียกดูรายงาน

73 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การผ่านรายการใหม่ (Reposting) การผ่านรายการใหม่ เป็นการทำรายการเพื่อปรับปรุงแก้ไขรายการที่ได้บันทึกแล้ว (ไม่ใช่การกลับรายการบัญชี) โดยการผ่านรายการใหม่นั้นจะมีผลเฉพาะกับระบบบัญชีบริหาร (CO) เท่านั้น ไม่กระทบกับระบบบัญชีการเงิน (FI) การผ่านรายการใหม่ อนุญาติให้ทำการเปลี่ยนศูนย์ต้นทุน (Cost Center) , ใบสั่งงานภายใน (Internal Order) , Fund , เขตตามหน้าที่ (Functional Area) ได้ วิธีการผ่านรายการ การผ่านรายการต้นทุนใหม่ (Manual Repost of Cost) การผ่านรายการใหม่ (Repost Line Item)

74 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การผ่านรายการต้นทุนใหม่ (Manual Repost of Cost) เป็นการแก้ไขรายการ โดยเปลี่ยนแปลง ศูนย์ต้นทุน หรือ ใบสั่งงานภายใน ไม่อ้างอิงเลขที่เอกสาร (FI Document) ไม่ตรวจสอบข้อมูลต้นทาง Cost center: C MT:1ภาควิชาเคมีคลินิก-การศึกษา CO (เงินเดือนข้าราชการ) +20,000 Cost center: C MT:ภาควิชาเคมีคลินิก Reposting Reposting (เงินเดือนข้าราชการ) -50,000 50,000 50,000 Cost Center: C MT:1ภาควิชาเคมีคลินิก-วิจัย (เงินเดือนข้าราชการ) +30,000

75 ตัวอย่าง 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การผ่านรายการต้นทุนใหม่ (Manual Repost of Cost) ตัวอย่าง

76 FI CO 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การผ่านรายการใหม่ (Repost Line Item) เป็นการแก้ไขรายการ โดยเปลี่ยนแปลง ศูนย์ต้นทุน หรือ ใบสั่งงานภายใน อ้างอิงเลขที่เอกสาร (FI Document) ตรวจสอบจำนวนเงินจากข้อมูลต้นทาง FI Document no CO Kunde A B C 50,000 -50,000 Cost center: C MT : 0 ภาควิชาเคมีคลินิก - 50,000 Cost Center C MT : 0 ภาควิชาเคมีคลินิก Cost Center: C MT : 2 ภาควิชาเคมีคลินิก-วิจัย + 50,000 CO Document No

77 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ตัวอย่าง

78 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 9.0 Reposting V.EUT.doc Exercise: TX CO 9.0 Reposting V.EUT.doc

79 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การปันส่วน ค่าใช้จ่าย (Cost Allocation) การปันส่วน เป็นขั้นตอนในการกระจาย ค่าใช้จ่าย จากศูนย์ต้นทุน ไปยัง ศูนย์ต้นทุนต่างๆ หรือ กระจาย ค่าใช้จ่าย จากศูนย์ต้นทุน ไปยัง โครงการต่างๆ ซึ่งในการกระจาย ค่าใช้จ่าย จะกระจายตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในวงรอบการปันส่วน การปันส่วน จะไม่มีผลกระทบกับ FI วิธีการปันส่วนที่ใช้สำหรับมหาวิทยาลัยมหิดล คือ วิธี Assessment คือกระจายค่าใช้จ่ายผ่านรหัสบัญชีรอง (Secondary Cost Element)

80 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
วัตถุประสงค์ของการปันส่วน ค่าใช้จ่าย (Allocation) การปันส่วนจากส่วนงานสนับสนุน ไปยัง ส่วนงานทั่วไป - เพื่อให้ทราบว่าแต่ละส่วนงาน มีค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่ได้รับจากส่วนงานสนับสนุนเท่าไร - เพื่อให้ทราบถึงภาพรวมของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของส่วนงาน (ค่าใช้จ่ายทางตรง , ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) การปันส่วนภายในส่วนงาน - เพื่อให้ทราบว่าแต่ละหน่วยงาน / ฝ่าย / งาน / หน่วย มีค่าใช้จ่ายที่ได้รับสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นๆ (ภายในส่วนงาน) เท่าไร - เพื่อให้ทราบถึงภาพรวมของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของ หน่วยงาน / ฝ่าย / งาน / หน่วย (ค่าใช้จ่ายทางตรง, ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) - เพื่อกระจายค่าใช้จ่ายลงไปยังโครงการตามพันธกิจ เพื่อวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ รายได้ ค่าใช้จ่าย ในมุมมอง พันธกิจ , ระดับ/ประเภท และ กลุ่มสาขา/สาขา ของโครงการ

81 Sender Receiver 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การปันส่วน ค่าใช้จ่าย (Allocation) Sender Receiver 31/07/ ,500.00 31/07/ ,500.00 31/07/ ,000.00 SKF = จำนวน น.ศ. Cctr. C Cctr. C 31/07/ Cctr. C 31/07/ ,250.00 Cctr. C 31/07/ ,500.00 จำนวน น.ศ.ทั้งหมด = 100 Cctr. C 10 20 30 40

82 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
วงรอบการปันส่วน (Allocation Cycle) วงรอบการปันส่วน (Cycle) คือ ชุดของการปันส่วน ซึ่ง ใน 1 วงรอบของการปันส่วน สามารถประกอบด้วยหลายๆส่วนย่อย (Segment) ได้ แต่ละ Segment จะระบุข้อมูลดังนี้ ศูนย์ต้นทุนผู้ส่ง (Sender Cost Center) ศูนย์ต้นทุนผู้รับ (Receiver Cost Center) หรือ โครงการผู้รับค่าใช้จ่าย (Receiver Order) ค่าใช้จ่ายที่ต้องการปันส่วน (Sender Cost Element) กฏเกณฑ์การปันส่วน (Allocation Rule)

83 Segment 1 Sender ??? SKF ? CTR A C Y CTR 1 CTR B L E CTR C CTR 2 CTR D
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) วงรอบการปันส่วน (Allocation Cycle) C Y L E Segment 1 Segment 2 CTR 3 CTR 1 CTR 2 CTR B CTR A CTR D CTR C Sender ??? Amount ? SKF ?

84 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ตัวอย่างวงรอบการปันส่วน (Allocation Cycle)

85 HR ,FI , MM 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
การปันส่วน ค่าใช้จ่าย (Assessment) HR ,FI , MM สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ เงินประจำตำแหน่ง 60,000 ค่าไฟฟ้า 1,000 ค่าประปา 5,000 Secondary Cost Element หมวดเงินเดือน ,000 หมวดสาธารณูปโภค ,000 200 SKF = จำนวนนักศึกษา 400 ภาควิชา ฟิสิกซ์ ภาควิชา ชีววิทยา หมวดเงินเดือน ,000 หมวดสาธารณูปโภค ,000 หมวดเงินเดือน ,000 หมวดสาธารณูปโภค ,000

86 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
แนวทางการปันส่วน ค่าใช้จ่าย (Cost Allocation) ภาควิชา ส่วนงานสนับสนุน สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุด กระจายค่าใช้จ่ายตามพันธกิจลงสู่ส่วนงานต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามพันธกิจของส่วนงาน และ เพื่อรวบรวมเป็นค่าใช้จ่ายตามพันธกิจ ส่วนงานทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะเภสัชศาสตร์ ศูนย์สัตว์ทดลอง วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันโภชนาการ สำนักงานคณบดี การศึกษา วิจัย บริการวิชาการ บริการสุขภาพ พันธกิจรวม โครงการ กระจายค่าใช้จ่ายที่ รับมาจากส่วนงานสนับสนุนรวมกับค่าใช้จ่ายทางตรงของสำนักงาน ลงสู่หน่วยงาน ระดับภาควิชาหรือเทียบเท่า เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามพันธกิจของส่วนงาน ทำนุบำรุงฯ อื่น ๆ กระจายค่าใช้จ่ายที่รับมาจากส่วนงานสนับสนุน + ค่าใช้จ่ายที่รับปันส่วนจากสำนักงาน + ค่าใช้จ่ายทางตรงตามพันธกิจ ลงสู่โครงการ เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยตามรายโครงการ

87 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
สำนักงานอธิการบดี สำนักงานอธิการบดี กองกฎหมาย กองพัฒนาคุณภาพ กองวิเทศสัมพันธ์ กองบริหารงานวิจัย กองกิจการนักศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ สำนักงานคณบดี ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ภาควิชาเคมีคลินิก พันธกิจการศึกษา การศึกษา วิจัย การศึกษา วิจัย พันธกิจวิจัย โครงการวิจัย 1 โครงการวิจัย 3 พันธกิจบริการวิชาการ โครงการวิจัย 2 โครงการวิจัย 4 งานการศึกษา งานวิจัยและบริการวิชาการ หลักสูตร วท.บ เทคนิคการแพทย์ งานนโยบายและแผน หลักสูตร วท.บ รังสึเทคนิค พันธกิจอื่นๆ

88 วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (PA)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) คณะเทคนิคการแพทย์ 1 สำนักงานคณบดี ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ภาควิชาเคมีคลินิก 5 2 พันธกิจการศึกษา การศึกษา วิจัย การศึกษา วิจัย พันธกิจวิจัย 3 6 7 พันธกิจบริการวิชาการ 4 โครงการวิจัย 1 โครงการวิจัย 3 งานวิจัยและบริการวิชาการ โครงการวิจัย 2 โครงการวิจัย 4 งานการศึกษา หลักสูตร วท.บ เทคนิคการแพทย์ งานนโยบายและแผน หลักสูตร วท.บ รังสึเทคนิค วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (PA) พันธกิจอื่นๆ 8 9

89 ตัวอย่าง 1 2 3 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
ฝ่าย 1 พันธกิจ 1 พันธกิจ 2 40% 60% 4,000 บาท 6,000 บาท 10,000 บาท 1 สนง.คณบดี พันธกิจ 1 ภาควิชาเคมี ภาควิชาชีววิทยา รายได้ : 10 ล้าน รายได้ : 20 ล้าน ฝ่าย พันธกิจ 1 900,000 บาท 300,000 บาท 600,000 บาท 2 สนง.คณบดี ภาควิชาเคมี ภาควิชาชีววิทยา จน.บุคลากร : 20 คน จ.น. บุคลากร : 80 คน 100,000 บาท 20,000 บาท 80,000 บาท 3

90 กองคลัง-สำนักงานอธิการบดี
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) รหัสบัญชีที่ใช้ในการปันส่วน (Secondary Cost Element) กองคลัง-สำนักงานอธิการบดี 5xxxxx 10,000 852xxx ,000 คณะเทคนิคการแพทย์ สำนักงานคณบดี 5xxxxx 50,000 852xxx 2,000 851xxx ,000 851xxx ,000 851xxx 25,000 852xxx - 2,000 852xxx 1,000 852xxx 8,000 คณะ xxx สำนักงานคณบดี 5xxxxx 10,000 5xxxxx 5,000 คณะเทคนิคการแพทย์ ภาควิชา X2 50 % ภาควิชา X1 852xxx :ปันส่วนค่าใช้จ่ายจากส่วนงานสนับสนุนไปยังส่วนงานทั่วไป 851xxx : ปันส่วนค่าใช้จ่ายภายในส่วนงาน

91 การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle)
4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA) โครงสร้างมาตรฐาน ศูนย์ต้นทุน เลขหลักทางสถิติ ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การบันทึกรายการใหม่ (Reposting) วงรอบการปันส่วน(Allocation Cycle) การบันทึกการปันส่วน(Cycle Execution) การปิดงวดบัญชี รายได้ /ค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การเรียกดูรายงาน

92 4. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting: CCA)
รายงานระบบบัญชีศูนย์ต้นทุน (Information System) รายงานในระบบบัญชีศูนย์ต้นทุน ใช้เพื่อวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่าย ในมุมมองของ ส่วนงาน/หน่วยงาน/ฝ่าย / หน่วย และย่อยลงถึงพันธกิจ รายงานประกอบด้วย รายงานมาตรฐาน: รายงานมาตรฐานที่ระบบมีให้ Report Painter : เป็นฟังก์ชันรายงานที่ผู้ใช้งานสามารถสร้างขึ้นเองได้ตามความต้องการ ABAP Report : เป็นรายงานที่เขียนขึ้นโดยภาษา ABAP/4 โดยใช้ในกรณีที่รายงานมาตรฐานไม่รองรับความต้องการ โดยรายงานมาตรฐานจะอยู่ภายใต้ Menu Path ดังนี้ Accounting > Controlling > Cost Center Accounting > Information System

93 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 10.0 Cost Allocation V.EUT.doc TN CO 11.0 CCA Information System V.EUT.doc TN CO 12.0 รายงานเสริมระบบบัญชีบริหาร V.EUT.doc (ZCORP001 , ZCORP004) Exercise: TX CO 10.0 การปันส่วนค่าใช้จ่ายของศูนย์ต้นทุน V.EUT.doc TX CO 11.0 CCA Information System V.EUT.doc TX CO 12.0 รายงานเสริมระบบบัญชีบริหาร V.EUT.doc

94 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

95 ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting- IO)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจโครงสร้างการออกแบบใบสั่งงานภายใน ทราบวัตถุประสงค์ของการใช้ใบสั่งงานภายในแต่ละประเภท เข้าใจมุมมองการวิเคราะห์และการไหลของข้อมูลของระบบใบสั่งงานภายใน สามารถเรียกดูรายงานรายได้ ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายในได้ สามารถเรียกดูข้อมูลหลักใบสั่งงานภายในบนระบบ MU-ERP ได้ สามารถเรียกดูกลุ่มข้อมูลหลักใบสั่งงานภายในบนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ บันทึก ค่าจริงและ ค่าประมาณการเลขทางสถิติ บนระบบ MU-ERP ได้

96 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
วัตถุประสงค์ของใบสั่งงานภายใน ใช้สำหรับเก็บรวมรวมรายได้ค่าใช้จ่ายตามโครงการของแต่ละพันธกิจ มุมมองที่ได้จากการวิเคราะห์ใบสั่งงานภายใน คือ สามารถวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายได้ในระดับย่อยกว่าศูนย์ต้นทุน และสามารถวิเคราะห์ตามแต่ละโครงการได้ หลักสูตร วท.บ. เทคนิคการแพทย์ ค่าธรรมเนียม 10,000 ค่าตอบแทน 2,000 รหัส ) โครงการวิจัย ค่าตอบแทน 8,000 ค่าวัสดุการวิจัย 2,000 รหัส ) หลักสูตร วท.บ. รังสีเทคนิค ค่าธรรมเนียม 40,000 ค่าตอบแทน 5,000 รหัส )

97 การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ใบสั่งงานภายใน ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน การเรียกดูรายงาน

98 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
ประเภทของใบสั่งงานภายใน (Order Type) Order Type ใช้เป็นตัวกำหนด Field ต่างๆของ Master Data ในแต่ละประเภท เพื่อใช้ในการแยก Number Range. ของ Order Master แต่ละประเภทออกจากกัน Number Range ของระบบ SAP มี 2 ประเภทคือ Internal Number Range ระบบจะสร้างรหัส Internal Order ให้อัตโนมัติโดย running ตามช่วงรหัสที่ กำหนด External Number Range ผู้สร้างจะต้องกำหนดรหัส Internal Order เอง ตามช่วงรหัสที่กำหนด Order Type Description Number Range External No. Z100 อื่นๆ Z Z Z101 งานการศึกษา Z102 งานวิจัย Z103 งานบริการวิชาการ Z104 งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Z105 งานบริการรักษาพยาบาล Z106 ผลิต Z107 ครุภัณฑ์

99 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
โครงสร้างรหัสใบสั่งงานภายใน (Order Number) ประเภท การศึกษา-หลักสูตร 1 AA BB C D E1 E2 E3 FF (12 digits) 11-12 รหัสส่วนงานที่เป็นเจ้าของหลักสูตร 10 ประเภทหลักสูตร 9 สาขาวิชา/สาขาเอก 7-8 ชื่อปริญญา/ชื่อหลักสูตร 6 ระดับการศึกษา (ระดับปริญญา) 4-5 รหัสหน่วยงาน/ภาควิชา ที่ทำการเรียนการสอน (ถ้าเป็นหลักสูตรของคณะให้ระบุ 01) 2-3 รหัสส่วนงานที่ทำการสอน 1 1 หมายถึงพันธกิจ การศึกษา ระดับปริญญา 1 = ต่ำกว่าปริญญาตรี = ปริญญาตรี = ระหว่างปริญญาตรีและปริญญาโท = ปริญญาโท 5 = ระหว่างปริญญาโท และ ปริญญาเอก = ปริญญาเอก = หลังปริญญาเอก ประเภทหลักสูตร 1 = ภาษาไทย/ภาคปกติ = ภาษาไทย/ภาคพิเศษ = ภาษาไทย / ต่อเนื่อง 4 = นานาชาติ/ภาคปกติ 5 = นานาชาติ/ภาคพิเศษ 6 = นานาชาติ/ต่อเนื่อง หมายเหตุ : การ running ชื่อปริญญา/ชื่อหลักสูตร จะ running ร่วมกันทุกระดับการศึกษา เช่น วิทยาศาสตร์บัณฑิต และวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จะได้เลขชื่อปริญญาเดียวกัน การ running สาขาวิชา/สาขาเอก จะ running ตามระดับการศึกษา + ชื่อปริญญา (C+D)

100 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
โครงสร้างรหัสใบสั่งงานภายใน (Order Number) ประเภทการศึกษา แต่ไม่ใช่หลักสูตร 1 XX XX Z XXXXXX (12 Digits) 7-12 ลำดับที่: Running Number 6 ระบุเป็น Z เสมอ 4-5 หน่วยงาน: (สำนัก/กอง/ภาควิชา/เทียบเท่าภาควิชา) 2-3 ส่วนงาน: (สำนัก/คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์, กลุ่มภารกิจ/วิทยาเขต) 1 ประเภทรหัส: (1= การศึกษา) หมายเหตุ : ในใบสั่งงานภายในแต่ละโครงการจะต้องระบุข้อมูลดังต่อไปนี้ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์รายงาน เจ้าของศูนย์ต้นทุน เจ้าของส่วนงาน พันธกิจ กลุ่มสาขาวิชา ระดับ/ประเภท

101 X XX XX XXXXXXX 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
โครงสร้างรหัสใบสั่งงานภายใน (Order Number) ประเภทอื่นๆ นอกจากการศึกษา X XX XX XXXXXXX (12 Digits) 6-12 ลำดับที่: Running Number ระดับส่วนงาน 4-5 หน่วยงาน: (สำนัก/กอง/ภาควิชา/เทียบเท่าภาควิชา) 2-3 ส่วนงาน: (สำนัก/คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์, กลุ่มภารกิจ/วิทยาเขต) ประเภทรหัส: (2=วิจัย/3=บริการวิชาการ/4=ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม/5=บริการสุขภาพ/Z=งานอื่น ๆ) 1 หมายเหตุ : ในใบสั่งงานภายในแต่ละโครงการจะต้องระบุข้อมูลดังต่อไปนี้ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์รายงาน เจ้าของศูนย์ต้นทุน เจ้าของส่วนงาน พันธกิจ กลุ่มสาขาวิชา ระดับ/ประเภท

102 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
ตัวอย่าง

103 มุมมอง (Characteristics) พันธกิจ , ระดับ/ประเภท, กลุ่มสาขา/สาขา
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ประเภทของ Internal Order ในระบบ SAP Real Internal Order Transaction Posting Internal Order Settlement มุมมอง (Characteristics) พันธกิจ , ระดับ/ประเภท, กลุ่มสาขา/สาขา Profit Segment (PA) Posting Cost Center Statistical Internal Order Transaction Cost Center Internal Order Posting Information Settlement Profit Segment Cost Center Internal Order (Real)

104 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
Real Order Real Order โครงการ วิจัย ‘True’ Reposting Settlement FI MM CO Overheads ส่วนงาน หน่วยงาน พันธกิจ Cost Center ‘Statistical’ Simultaneous ‘Real’ postings

105 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
Statistical Order Statistical Order ไม่มีโครงการ-ส่วนงานxx รหัส Zxx Simultaneous postings ‘Real’ ‘Statistical’ Reposting Settlement FI MM CO Overheads Cost Center STOP ส่วนงาน หน่วยงาน พันธกิจ

106 Order Type ประเภท โครงสร้างรหัส
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ประเภทของ Internal Order ในระบบ MU-ERP Order Type ประเภท โครงสร้างรหัส Z100 - อื่นๆ Stat Z XX – ไม่มีโครงการ (XX = รหัสส่วนงาน) Real Z XX XX XXXXXXX Z101 - การศึกษา Real/Stat 1 XX XX XXXXXXX Z102 - วิจัย 2 XX XX XXXXXXX Z103 - บริการวิชาการ 3 XX XX XXXXXXX Z104 - ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 4 XX XX XXXXXXX Z105 - บริการสุขภาพ 5 XX XX XXXXXXX Z106 - ผลิต หมายเหตุ: โครงการประเภท “อื่นๆ” ที่เป็นประเภท Statistical Order จะมี 1 โครงการต่อ 1 ส่วนงานเท่านั้น

107 Order Status Plan Budget PR/PO Posting
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) Order Status คือสิ่งที่ใช้กำหนดขอบเขตการทำรายการต่างๆในระบบ โดยแต่ละสถานะ จะมีขอบเขตในการทำรายการได้ไม่เท่ากัน ตามตารางดังต่อไปนี้ Order Status Technical Complete Create Release Close Order Status Plan Budget PR/PO Posting 1.Create 2.Release 3.Technical Complete 4.Closed Order closed/ no postings Technical Complete คือสถานะที่ไม่สามารถสร้าง PR, PO ได้ กล่าวคือไม่สามารถก่อหนี้ใหม่เพิ่มขึ้นได้ แต่สามารถทำรายการอื่นๆทางบัญชีได้ตามปกติ

108 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
กลุ่มใบสั่งงานภายใน (Order Group) คือการจัดกลุ่มของใบสั่งงานภายใน (โครงการ) เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อใช้สำหรับเรียกดูรายงาน เพื่อใช้สำหรับการทำการบันทึกรายการของใบสั่งงานภายใน Order Group โครงการคณะเทคนิคการแพทย์ หลักสูตรการศึกษา Order Group วท.บ. รังสีเทคนิค วท.บ. เทคนิคการแพทย์ วท.ม. เทคนิคการแพทย์ วท.ม. รังสีเทคนิค Internal Order โครงการวิจัย Order Group โครงการใช้เทคนิค DNAฯ โครงการผลิตเครื่องไบโอฯ โครงการ … โครงการ … Internal Order

109 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
โครงสร้างของกลุ่มใบสั่งงานภายใน (Order Group) X XX X XXX (7 Digits) ลำดับที่: Running No. 5-6 พันธกิจ: (1= งานการศึกษา/ 2=งานวิจัย/3=งานบริการวิชาการ/ 4=ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม / 5 = รักษาพยาบาล / Z = อื่นๆ / 0 = รวมพันธกิจ) 4 ส่วนงาน: (สำนัก/คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์ หรือ กลุ่มภารกิจ/วิทยาเขต) 2-3 วัตถุประสงค์: ( I = Information , R = Receiver) 1 ตัวอย่าง ข้อมูลหลัก (Coding Value) ลักษณะมุมมอง รหัสกลุ่ม คำอธิบายรายการ ดูรายงานกลุ่มหลักสูตรของคณะ I กลุ่มหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์ รับการปันส่วนจากจากภาควิชาเคมี R กลุ่มหลักสูตรที่รับการปันส่วนจากภาควิชาเคมี รับการปันส่วนจากจากภาควิชาฟิสิกซ์ R กลุ่มหลักสูตรที่รับการปันส่วนจากภาควิชาฟิสิกซ์

110 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 13.0 Internal Order Master Data V.EUT.doc Exercise: TX CO 13.0 การบริหารข้อมูลหลักใบสั่งงานภายใน V.EUT.doc

111 การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ใบสั่งงานภายใน ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน การเรียกดูรายงาน

112 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
การบันทึกรายการ (Posting Logic) Financial Accounting Controlling Data entry Derivation Posting Real Statistical Costs: Cost center Order (Real) 100 C Profit center P04 ( stat .) Z 2 1 C C C Z

113 Automatically Transfer
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) การบันทึกรายการ (Posting Logic) G/L Account (P&L) Amount Controlling Object (Internal Order) Cost element (420000) CO Document # FI Document # G/L Account (Bal. Sheet) 113100 FI Data Entry: Item 001 - G/L Account (P&L) - Amount - Controlling Object (IO) Item 002 - G/L Account (Bal. Sheet) Automatically Transfer

114 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
การประมาณการ เลขทางสถิติ (Statistical Key Figures Planning) วท.บ.รังสีเทคนิค วท.บ.เทคนิคการแพทย์ PLAN วท.ม.รังสีเทคนิค Fixed PRS001 จำนวนนักศึกษา 100 คน 120 คน 80 คน Total THB001 เงินงบประมาณ 250 M 200 M 150 M Period: 1 to 12 Fiscal Year: 2010 IO: P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total 120 Fixed ระบุค่า = 120 120 Total

115 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
การบันทึกค่าจริงเลขทางสถิติ (Actual Statistical Key Figures) Fixed วท.บ.รังสีเทคนิค วท.บ.เทคนิคการแพทย์ ACTUAL วท.ม.รังสีเทคนิค PRS001 จำนวนนักศึกษา 100 คน 120 คน 80 คน Total THB001 เงินงบประมาณ 250 M 200 M 150 M Period: 1 Fiscal Year: 2010 IO: P.1 P.2 P.3 P.4 P.5 P.12 Total หมายเหตุ: Period จะถูกกำหนดตาม Posting Date 120 Fixed 120 120 Total

116 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 14.0 Actual & Plan SKF (Order) V.EUT.doc TN CO 15.0 Planning Aids (Order) V.EUT.doc Exercise: TX CO 14.0 Actual & Plan SKF (Order) V.EUT.doc TX CO 15.0 Planning Aids (Order) V.EUT.doc

117 การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ใบสั่งงานภายใน ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน การเรียกดูรายงาน

118 Orders Possible Settlement Receivers Settlement
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายออกจากใบสั่งงานภายใน (Order Settlement) Possible Orders Settlement Receivers Cost center Settlement Order Debits Debits Options: project - - Credits Credits By cost element = = Order balance Order balance or settlement Proftblty segment cost element G/L Account Settlement rule to all cost elements or differentiated based on Asset origin layout Sales order Distribution: % / amount / equivalence number with cost collector ...

119 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายออกจากใบสั่งงานภายใน (Order Settlement) การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายออกจากใบสั่งงานภายใน จะต้องมีการกำหนดกฏการโอน (Settlement Rule) ซึ่งเป็นตัวที่ระบุว่า รายได้ ค่าใช้จ่ายในใบสั่งงานภายในนั้นจะถูกโอนไปยัง Receiver ใด ด้วยจำนวนเงินหรือสัดส่วนเท่าใด กฏการโอน (Settlement Rule) จะถูกกำหนดในข้อมูลหลักของใบสั่งงานภายในโดยมีรายละเอียดดังนี้ Receiver Category : PSG (Profit Segment) , ORD (Internal Order) , CTR (Cost Center) Receiver : ระบุผู้รับ เช่น ระบุมุมมองที่ใช้วิเคราะห์ , ระบุรหัสโครงการ ,ระบุรหัสศูนย์ต้นทุน เกณฑ์การปันส่วน : Fixed Percentage (%) , Equivalence Number , Fixed Amount Settlement Type : PER โอนเฉพาะรายได้ค่าใช้จ่ายที่อยู่ในงวดที่กำหนดเท่านั้น FUL โอนรายได้ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด จากงวดแรกจนถึงงวดที่กำหนด สำหรับระบบ MU-ERP ระบบจะสร้างกฏการโอน (Settlement Rule) ให้โดยอัตโนมัติ โดยจะโอนไปยัง Profit Segment ของระบบการวิเคราะห์กำไร (PA) (ยกเว้น Order Type – Z100 อื่นๆ ที่ต้องสร้างกฏการปันส่วนเอง) สำหรับ IO หลักสูตร ของบัณฑิตวิทยาลัย จะโอนไปยัง Internal Order ซึ่งจะต้องทำการแก้ไข Settlement Rule

120 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายออกจากใบสั่งงานภายใน (Order Settlement)

121 การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน
5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO) ใบสั่งงานภายใน ข้อมูลหลัก ค่าจริง (Actual) ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนปิดใบสั่งงานภายใน การเปลี่ยนแปลงสถานะใบสั่งงานภายใน การปิดงวดบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน การเรียกดูรายงาน

122 5. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting - IO)
รายงานระบบใบสั่งงานภายใน (Information System) รายงานในระบบใบสั่งงานภายใน ใช้เพื่อวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่าย ในมุมมองของ โครงการ ต่างๆตามแต่ละพันธกิจ ซึ่งเป็นมุมมองที่ย่อยกว่าศูนย์ต้นทุน รายงานประกอบด้วย รายงานมาตรฐาน: รายงานมาตรฐานที่ระบบมีให้ Report Painter : เป็นฟังก์ชันรายงานที่ผู้ใช้งานสามารถสร้างขึ้นเองได้ตามความต้องการ ABAP Report : เป็นรายงานที่เขียนขึ้นโดยภาษา ABAP/4 โดยใช้ในกรณีที่รายงานมาตรฐานไม่รองรับความต้องการ โดยรายงานมาตรฐานจะอยู่ภายใต้ Menu Path ดังนี้ Accounting > Controlling > Internal Orders > Information System

123 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 16.0 IO Information System V.EUT.doc TN CO 12.0 รายงานเสริมระบบบัญชีบริหาร V.EUT.doc (ZCORP002 ) Exercise: TX CO 16.0 การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายของใบสั่งงานภายใน V.EUT.doc

124 ระบบบัญชีบริหาร (Controlling)
A. ภาพรวมของระบบบัญชีบริหาร (CO Overview) B. โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) C. ระบบรหัสบัญชีต้นทุน (Cost Element Accounting-CE) D. การบัญชีศูนย์ต้นทุน (Cost Center Accounting-CCA) E. ระบบใบสั่งงานภายใน (Internal Order Accounting-IO) F. ระบบการวิเคราะห์ผลกำไรขาดทุนจากการดำเนินงาน (Profitability Analysis-PA)

125 ระบบการวิเคราะห์กำไรขาดทุน (Profitability Analysis - PA)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจโครงสร้างการออกแบบระบบการวิเคราะห์กำไรขาดทุน เข้าใจมุมมองการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่าย ของระบบการวิเคราะห์กำไรขาดทุน เข้าใจการไหลของข้อมูลจากระบบอื่นมายังของระบบการวิเคราะห์กำไรขาดทุน สามารถสร้างรายงาน รายได้ ค่าใช้จ่าย เพื่อวิเคราะห์ในมุมมองต่างๆได้ สามารถ เปลี่ยนแปลง ค่าของมุมมองภายในบนระบบ MU-ERP ได้ สามารถ ประมาณการ รายได้ ค่าใช้จ่าย ในมุมมองต่างๆของระบบการวิเคราะห์กำไรขาดทุนได้

126 มุมมอง (Characteristics) ค่าของมุมมอง (Characteristics Value)
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) มุมมอง (Characteristics) ค่าของมุมมอง (Characteristics Value) ข้อมูลหลัก ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนรายได้ ค่าใช้จ่ายจากศูนย์ต้นทุน-พันธกิจ”อื่นๆ” การปิดงวดบัญชี การสร้างรายงาน (Drilldown Report) การเรียกดูรายงาน

127 Purchasing organization
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) โครงสร้างของระบบบัญชีบริหาร (Enterprise Structure) Accounting Base Operating Concern : MU00 มหาวิทยาลัยมหิดล CO- CO- PA PA FM area : 1000 CO- CO- CO- CO- EC- EC- Controlling area : 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล FM FI CCA CCA IO IO PCA PCA Company code : 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล FI FI Purchasing organization Plant : 1010 1000 Plant : 2010 MM MM Plant : 1020 A A A Plant : 2020

128 6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA)
ระบบการวิเคราะห์กำไร เป็นระบบที่ช่วยในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานซึ่งมีความยืดหยุ่น โดยสามารถวิเคราะห์ได้หลายมุมมอง ตามมุมมอง (Characteristic) ที่กำหนด ระบบการวิเคราะห์กำไรของมหาวิทยาลัยมหิดล มีไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์รายได้ค่าใช้จ่าย และกำไรขาดทุน ในภาพรวมของมหาวิทยาลัย โดยสามารถวิเคราะห์ได้ในมุมมองต่างๆ เช่น พันธกิจ , ระดับ/ประเภท, กลุ่มสาขา/สาขา , ศูนย์ต้นทุน , โครงการ สำหรับมหาวิทยาลัยมหิดล ไม่มีการผ่านรายการรายได้ค่าใช้จ่ายเข้าที่ระบบการวิเคราะห์การทำกำไรโดยตรง แต่ข้อมูลในระบบการวิเคราะห์กำไร จะได้มาจาก 3 ส่วน ดังนี้ รับโอนค่าใช้จ่าย จากศูนย์ต้นทุน-พันธกิจ “อื่นๆ” มายังระบบการวิเคราะห์กำไร รับโอนรายได้ จากศูนย์ต้นทุน มายังระบบการวิเคราะห์กำไร รับโอนรายได้ ค่าใช้จ่าย จากใบสั่งงานภายในประเภท Real มายังระบบการวิเคราะห์กำไร

129 6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA)
พันธกิจ ผลผลิตต้นทุน ส่วนงาน ศูนย์ต้นทุน โครงการ ระดับ/ประเภท กลุ่มสาขา/สาขา รายได้ ค่าใช้จ่ายที่เป็นพันธกิจอื่นๆ จะทำการโอนไป PA ตามพันธกิจ และ ผลผลิตทางด้านการบริหารต้นทุน PA-วิเคราะห์กำไรขาดทุน ส่วนงาน หน่วยงาน พันธกิจ การศึกษา การวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม บริการสุขภาพ อื่น ๆ HR MM CCA-ศูนย์ต้นทุน IO -โครงการ โอนข้อมูล ปันส่วนเข้าโครงการต่าง ๆ - GL - AP - AR - FA FI วิเคราะห์กำไรขาดทุน ตามพันธกิจ ผลผลิตต้นทุน ของมหาวิทยาลัย หรือ ของแต่ละส่วนงาน รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา XXX รายได้งานวิจัย XXX ค่าใช้จ่าย 11 หมวด หมวดเงินเดือน / ค่าจ้าง / ค่าตอบแทน XXX หมวดค่าใช้สอย / ค่าวัสดุ XXX หมวดค่าสารธารณูปโภค XXX ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ XXX กำไรขาดทุน XXX วิเคราะห์ รายได้ ค่าใช้จ่าย (ทางตรง+ทางอ้อม) ตามแต่ละส่วนงาน/หน่วยงาน วิเคราะห์ รายได้ ค่าใช้จ่าย (ทางตรง+ทางอ้อม)ตามแต่ละโครงการ และต้นทุนต่อหน่วย วิเคราะห์ งบการเงิน

130 ค่าของมุมมอง (Characteristics Value)
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) มุมมองในการวิเคราะห์ (Characteristics) และ ค่าของมุมมอง (Characteristics Value) ระดับ/ประเภท กลุ่มสาขา/สาขา ตัวอย่าง 0. ไม่ระบุ 10. มัธยมศึกษาตอนปลาย 11. ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา 12. ปริญญาตรี 13. หลักสูตรฝึกอบรมเฉพาะทาง 14. ประกาศนียบัตรบัณฑิต 15. ปริญญาโท 16. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 17. ปริญญาเอก 18. วุฒิบัตรแพทย์เฉพาะทาง/ต่อยอด 19. ประกาศนียบัตรแพทย์เฟลโลว์ 20. ถ่ายทอดเทคโนโลยี 21. สร้างองค์ความรู้ 30. งานอบรมสัมมนา 31. งานรับจ้างวิจัย 32. งานรับจ้างเป็นที่ปรึกษา 40. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 50. ผู้ป่วยใน 51. ผู้ป่วยนอก Art and Humanities Natural Sciences Engineering and IT Social Sciences Life Sciences Biomedicine มุมมอง (Characteristics) พันธกิจ ค่าของมุมมอง (Characteristics Value) 0. พันธกิจรวม การศึกษา วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม บริการสุขภาพ Z. อื่นๆ

131 Combination ของ Characteristics เป็นตัวกำหนด Profitability Segment
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) Profitability Segment พันธกิจ การศึกษา ระดับ/ประเภท ปริญญาตรี กลุ่มสาขา/สาขา Life Sciences and Biomedicine ศูนย์ต้นทุน C โครงการ ส่วนงาน P04 Characteristics รายได้จัดการศึกษา 800 100 250 Account Profitability segment Values ตรี โท เอก การศึกษา วิจัย บริการวิชาการ Combination ของ Characteristics เป็นตัวกำหนด Profitability Segment Account รายได้จัดการศึกษา 800 หมวดเงินเดือน 100 หมวดเงินเดือน – หมวดอุดหนุน 250 – หมวดอุดหนุน

132 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 17.0 Maintain Characteristic Values V.EUT.doc Exercise: TX CO 17.0 การจัดการค่าของมุมมอง V.EUT.doc

133 มุมมอง (Characteristics) ค่าของมุมมอง (Characteristics Value)
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) มุมมอง (Characteristics) ค่าของมุมมอง (Characteristics Value) ข้อมูลหลัก ค่าประมาณการ (Plan) การบันทึกรายการ การโอนรายได้ ค่าใช้จ่ายจากศูนย์ต้นทุน-พันธกิจ”อื่นๆ” การปิดงวดบัญชี การสร้างรายงาน (Drilldown Report) การเรียกดูรายงาน

134 6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA)
Assessment ,000 30,000 50,000 ,000 Cycle: Accounting-Based: ,000 ,000 CO- PA ศูนย์ต้นทุน พันธกิจ อื่นๆ Account-Based: ,000 ,000 หมายเหตุ: การโอน รายได้ ค่าใช้จ่าย ไปยังระบบการวิเคราะห์การทำกำไร จะทำเพื่อ โอน ค่าใช้จ่าย จาก ศูนย์ต้นทุนพันธกิจ อื่นๆ เข้ามุมมอง พันธกิจ อื่นๆ โอน รายได้ ทั้งหมด ที่เหลืออยู่ในทุกศูนย์ต้นทุน เข้ามุมมอง ตาม พันธกิจ

135 วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (PA)
6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA) 4 คณะเทคนิคการแพทย์ สำนักงานคณบดี ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ภาควิชาเคมีคลินิก 6 2 พันธกิจการศึกษา การศึกษา วิจัย การศึกษา วิจัย พันธกิจวิจัย 5 7 8 1 พันธกิจบริการวิชาการ 3 โครงการวิจัย 1 โครงการวิจัย 3 งานวิจัยและบริการวิชาการ โครงการวิจัย 2 โครงการวิจัย 4 งานการศึกษา หลักสูตร วท.บ เทคนิคการแพทย์ งานนโยบายและแผน หลักสูตร วท.บ รังสึเทคนิค วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (PA) พันธกิจอื่นๆ 9 10

136 6. ระบบการวิเคราะห์การทำกำไร (Profitability Analysis – PA)
วงรอบการปันส่วน (Allocation Cycle) วงรอบการปันส่วน (Cycle) คือ ชุดของการปันส่วน ซึ่ง ใน 1 วงรอบของการปันส่วน สามารถประกอบด้วยหลายๆส่วนย่อย (Segment) ได้ แต่ละ Segment จะระบุข้อมูลดังนี้ ศูนย์ต้นทุนผู้ส่ง (Sender Cost Center) มุมมองที่รับรู้รายได้/ค่าใช้จ่าย (Receiver) ค่าใช้จ่ายที่ต้องการปันส่วน (Sender Cost Element) กฏเกณฑ์การปันส่วน (Allocation Rule)

137 Exercise Practice Make Perfect Demo Manual:
TN CO 18.0 Transfer Cost Center Costs V.EUT.doc TN CO 19.0 PA Information System V.EUT.doc TN CO 12.0 รายงานเสริมระบบบัญชีบริหาร V.EUT.doc (ZCORP003 ) Exercise: TX CO 18.0 การโอนรายได้ค่าใช้จ่ายของระบบการวิเคราะห์กำไร V.EUT.doc


ดาวน์โหลด ppt การอบรมการใช้งานระบบบัญชีบริหาร (Controlling)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google