งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ 12/2555 วันพุฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

2 วาระการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ น.

3 หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว สถานการณ์น้ำในเขื่อน เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ 1-2 สัปดาห์ที่ผ่านมามีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนมากอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระดับน้ำสูงใกล้ระดับน้ำควบคุม และคาดว่าสัปดาห์หน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องทางด้านตะวันตกของประเทศไทย จึงเสนอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต กรมชลประทานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาเพิ่มการระบายน้ำ ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงน้ำล้นอ่างเก็บน้ำ โดยไม่ให้ส่งผลกระทบกับพื้นที่ท้ายน้ำ เขื่อนอุบลรัตน์ ปัจจุบันมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปีน้อย จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อสภาวะน้ำแล้ง เสนอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต และคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำจังหวัดขอนแก่น ร่วมกันพิจารณาปรับลดการระบายให้เหมาะสม คาดการณ์สถานการณ์ฝน เฝ้าติดตามฝนตกมากช่วงวันที่ 1-7 ส.ค. 55 เนื่องจากมีร่องมรสุมพาดผ่านประเทศพม่า ลาว และเวียดนามตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรง ส่งผลให้อาจเกิดฝนตกค่อนข้างมากทางด้านตะวันตกของประเทศ และภาคตะวันออก บริเวณจังหวัดจันทบุรีและตราด

4 หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55 ) การคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่วันที่ 26 ก.ค. 55 ถึงวันที่ 1 พ.ย. 55 พบว่าเขื่อนภูมิพลจะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 5,339 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติ์ จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 4,434 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 2,279 ล้าน ลบ.ม. โดยปริมาณน้ำไหลเข้าของทั้ง 3 เขื่อนอยู่ในเกณฑ์น้ำปานกลาง ควรบริหารเขื่อนทั้งสามโดยมีเป้าหมาย คือให้มีปริมาณน้ำกักเก็บในเขื่อนภูมิพลไม่ต่ำกว่า 74% เขื่อนสิริกิติ์ไม่ต่ำกว่า 82% และป่าสักชลสิทธิ์ไม่ต่ำกว่า 90% เมื่อสิ้นฤดูฝน เพื่อให้เขื่อนทั้งสามแห่ง มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำในช่วงฤดูแล้งต้นปี 2556 ระยะสั้น เสนอให้ยังคงการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพล วันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร และลดการระบายน้ำที่เขื่อนสิริกิติ์เหลือวันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่วันที่ 2 ส.ค. 55 เป็นต้นไป ทั้งนี้ช่วงวันที่ 5-7 ส.ค. 55 อาจจะมีการปรับเพิ่มการระบายเนื่องจากต้องการใช้น้ำเพื่อทดสอบระบบที่เขื่อนนเรศวร

5 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว
9 สิงหาคม 2555

6 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (1 – 7 ส.ค. 55)
1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55 3 ส.ค. 55 4 ส.ค. 55 5 ส.ค. 55 6 ส.ค. 55 7 ส.ค. 55

7 ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง 7 วัน

8 เรดาร์พิษณุโลก ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55 7 ส.ค. 55
8 ส.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

9 เรดาร์สัตหีบ ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร 1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55
3 ส.ค. 55 6 ส.ค. 55 ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร

10 สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 46% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 7,230 ล้าน ลบ.ม. 27 ก.ค.- 8 ส.ค. 55 ระบายวันละ 8 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

11 สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 47% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,010 ล้าน ลบ.ม. 6 - 8 ส.ค. 55 ระบายวันละ 13 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

12 สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลลงอ่างอย่างต่อเนื่อง แต่มีแนวโน้มลดลง 69% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้า 2 ส.ค ล้าน ลบ.ม. 4 ส.ค ล้าน ลบ.ม. 5 ส.ค ล้าน ลบ.ม. 6 ส.ค ล้าน ลบ.ม. 7 ส.ค ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค ล้าน ลบ.ม. รับน้ำได้อีก 2,729 ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค. 55 ระบาย ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรมชลประทาน

13 สถานการณ์น้ำเขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อยตั้งแต่ต้นปี 25% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม ณ วันที่ 8 ส.ค. 55 442 ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค. 55 ระบาย 2.86 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรมชลประทาน

14 สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 13% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อย 10 ก.ค. - 8 ส.ค. 55 ระบายวันละประมาณ 1 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน

15 หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า
การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) 2.5 สถานการณ์น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรน้ำ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ

16 ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 1 สิงหาคม 2555
BK 1-11 25-31 ก.ค. 2555 BK 10 คาดการณ์ 1-7 ส.ค. 2555

17 ข้อมูลฝนรายสัปดาห์จากกรมอุตุนิยมวิทยา
17 17

18 ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยา
ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอัตโนมัติ ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอำเภอ 18 18

19 การใช้ข้อมูลฝนอำเภอของกรมอุตุนิยมวิทยา
การใช้ข้อมูลฝนอำเภอเพื่อการพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่า ที่สถานี Y.1C พบว่าคุณภาพข้อมูลมีความถูกต้องสามารถนำมาใช้พิจารณาได้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) =0.862 WBL =-0.1% 19 19

20 สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป
สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

21 จบการรายงาน

22 22

23 การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่
วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ

24 การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block10 Schematic diagram

25 การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block11 Schematic diagram

26

27 การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT
เดือนกรกฎาคม 2555 ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน พ.ค. มิ.ย. ก.ค. Block3 322.59 101.11 Block4 281.84 84.60

28 BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555

29 การประเมินผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อพืช
กรมอุตุนิยมวิทยา โดยศูนย์ภูมิอากาศ ทาการวิเคราะห์ดัชนีความแห้งแล้งทางการเกษตร โดยใช้ Generalized Monsoon Index (GMI) แสดงถึงผลกระทบที่อาจเกิดแก่พืชที่กาลังเจริญเติบโต อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนความชื้น ทาให้สามารถทราบสภาวะโดยทั่วไปของพืชใช้น้าฝนที่ปลูกในฤดูมรสุม เกณฑ์ GMIpct สภาวะของพืช แล้งจัด แล้ง ค่อนข้างแล้ง ปกติ ความชื้นสูงกว่าปกติ ความชื้นเกินความต้องการ

30 คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ
ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 30

31 แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป

32 แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google