งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
MTRD 427 Radiation Protection - RSO 1/19/2018 ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62 โดย จรูญ วรวาส กลุ่มอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

2 โดยอย่างน้อยต้องมีเรื่องต่อไปนี้ สถานที่จัดเก็บหรือสถานที่ประกอบกิจการ
พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์ พ.ศ มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 มาตรา 29 บัญญัติให้ ผู้ขอรับใบอนุญาตดำเนินการใดๆ เกี่ยวกับวัสดุกัมมันตรังสี หรือเครื่องกำเนิดรังสีจะต้องมีศักยภาพทาง เทคนิคอย่างเพียงพอในการดูแลความปลอดภัยทางรังสีและความมั่นคง ปลอดภัย โดยอย่างน้อยต้องมีเรื่องต่อไปนี้ สถานที่จัดเก็บหรือสถานที่ประกอบกิจการ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี แผนป้องกันอันตรายจากรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

3 MTRD 427 Radiation Protection - RSO
1/19/2018 มาตรา 92 บัญญัติ “ให้ผู้รับใบอนุญาตผลิต มีไว้ในครอบครอง หรือใช้วัสดุกัมมันตรังสี และผู้รับใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองหรือใช้ เครื่องกําเนิดรังสี ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีปฏิบัติ หน้าที่ในสถานที่ทําการของผู้รับใบอนุญาต อย่างน้อยหนึ่งคนประจําอยู่ ตลอดเวลาที่เปิดทําการ” มาตรา 29 บัญญัติให้ ปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับดูแลความ ปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัยของต้นกำเนิดรังสี มาตรา 95 บัญญัติให้ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ต้อง ได้รับใบอนุญาตจากเลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ... การแบ่ง ระดับและการกำหนดคุณวุฒิรวมทั้งการขอรับใบอนุญาตและออก ใบอนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฏ กระทรวง Radidtion Safety Offier 16/07/62

4 มาตรา 152 บัญญัติให้ “บรรดากฎกระทรวง ประกาศ หรือ ระเบียบที่ออกตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ ที่ใช้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบ ตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ....” ประกาศคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง มาตรฐาน การรับรองเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ออกตามความใน พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ พ.ศ ได้ กำหนดสมรรถนะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีไว้ Radidtion Safety Offier 16/07/62

5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ระดับและประเภท
ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี ประเภทเครื่องกำเนิดรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสีและ เครื่องกำเนิดรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี ประเภทเครื่องกำเนิดรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสีและ เครื่องกำเนิดรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี ประเภทเครื่องกำเนิดรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสีและ เครื่องกำเนิดรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

6 ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี/เครื่องกำเนิดรังสี ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประกาศคณะกรรมการฯ พ.ศ. ๒๕๔๙ ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง เครื่องกำเนิดรังสี ประเภท 3 หรือ วัสดุกัมมันตรังสีประเภท 5 เฉพาะ ชนิดปิดผนึก เครื่องกำเนิดรังสี ประเภท 2 และ/ หรือประเภท 3 หรือ วัสดุกัมมันตรังสีประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 และ/หรือประเภท 5 เฉพาะชนิดปิดผนึก เครื่องกำเนิดรังสี ประเภท 1 ประเภท 2 และ/หรือประเภท 3 หรือ วัสดุกัมมันตรังสีประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 และ/หรือ ประเภท 5 ทุกชนิด (ปิดผนึกและไม่ ปิดผนึก) Radidtion Safety Offier 16/07/62

7 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
ผู้รับใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ตาม พ.ร.บ. พลังงานนิวเคลียร์ ๒๕๕๙ หรือผู้รับใบรับรอง ตาม พ.ร.บ. พลังงานปรมาณู ๒๕๐๔ ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ในการขอรับ ใบอนุญาต ดำเนินการใดๆ กับ วัสดุกัมมันตรังสี หรือเครื่องกำเนิดรังสี และปฏิบัติหน้าที่เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางรังสีอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ ผู้มีศักยภาพ (สมรรถนะ+บทบาท+หน้าที่รับผิดชอบ)ใน การดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสี (Safety) และด้าน การรักษาความมั่นคงปลอดภัย(Security) ต่อต้นกำเนิด รังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

8 ศักยภาพ = สมรรถนะ+บทบาท+หน้าที่
Radidtion Safety Offier 16/07/62

9 MTRD 427 Radiation Protection - RSO
1/19/2018 สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ (สมรรถนะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประกาศคณะกรรมการฯ พ.ร.บ พลังงานปรมาณู ๒๕๐๔) หมวด ก. หมวด ข. หมวด ค. การบริหารจัดการด้านความ ปลอดภัยทางรังสี การดำเนินการให้เป็นไป ตามกฎหมาย การขออนุญาต การวางกฎ ระเบียบ ใน การใช้รังสี การเก็บบันทึกและรายงาน การให้ความรู้ด้านการ ป้องกันอันตรายจากรังสี การตรวจพิสูจน์ (inspection) การตรวจสอบ (audit) การสอบสวน (investigation) การควบคุมการได้รับ ปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันอันตรายจากรังสี การบริหารจัดการทะเบียน วัสดุกัมมันตรังสีและเครื่อง กำเนิดรังสี การตรวจวัดรังสีประจำตัว บุคคล การควบคุมความเปรอะ เปื้อนทางรังสี วิธีดำเนินการในกรณีเกิด เหตุผิดปกติหรือฉุกเฉิน Radidtion Safety Offier 16/07/62

10 การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ ทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติการป้องกัน อันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสีเป็นประจำทุกปี จัดการเอกสาร วิธีการ เพื่อให้ปฏิบัติได้ตามกฎหมาย บริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสีและงบประมาณ (ยกเว้นระด้บ ต้น) ให้คำแนะนำผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้สาร กัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีภายในองค์กร (ยกเว้น ระด้บ ต้น) โครงสร้างองค์กรและการบริหารจัดการ การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานและบริเวณรังสี การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี แผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบเพื่อความปลอดภัยทางรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

11 การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ มีความรู้ความเข้าใจพระราชบัญญัติฯ และ กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องรวมทั้งกฎหมาย ประกาศและ ระเบียบต่าง ๆ ให้คำแนะนำผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานให้เข้าใจและ ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายและกฎระเบียบ พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์ พ.ศ. 2559 กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบที่ออกตามความใน พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 ความปลอดภัยทางรังสี ความมั่นคงปลอดภัย กฎกระทรวงเกี่ยวกับกากกัมมันตรังสี กฏกระทรวง ประกาศ และระเบียบ ตาม พรบ พลังงาน ปรมาณู 2504 ที่ยังมีผลบังคับใช้ พ.ร.บ ที่ RSO ควรรู้ Radidtion Safety Offier 16/07/62

12 การขออนุญาต สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ องค์ความรู้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะต่างๆ ที่ระบุในใบอนุญาต ตรวจสอบใบอนุญาตเกี่ยวกับรังสีตามที่ได้รับอนุญาต ไม่ให้ขาดอายุ ทบทวนหรือจัดทำคำขออนุญาตเมื่อมีการขออนุญาต ใหม่หรือเมื่อต้องมีการปรับปรุง จัดการชำระล้างความเปรอะเปื้อนทางรังสี ในบริเวณที่ เคยได้รับอนุญาต หากไม่มีการต่ออายุใบอนุญาตหรือ ยกเลิกการใช้ (เฉพาะระดับสูง) ใบอนุญาตต่างๆ การอนุญาต ขั้นตอนการขออนุญาต/ออกใบอนุญาต การกรอกคำขอนุญาต และหลักฐานประกอบการขอ เงื่อนไขการขออนุญาตแต่ละประเภท ขั้นตอนการดำเนินการจัดการกากกัมมันตรังสี เงื่อนไขหากไม่ต่อใบอนุญาตหรือยกเลิกการใช้ กาจัดการ การชำระล้างความเปรอะเปื้อนทางรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

13 การวางกฎ ระเบียบในการใช้รังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ วางกฎระเบียบในการปฏิบัติงานทางรังสีตามความ จำเป็นของหน่วยงานให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ให้คำแนะนำเกี่ยวกับป้ายรังสีที่ควรติดในแต่ละบริเวณ จัดทำวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของต้นกำเนิด รังสี (Security) กฎระเบียบในการปฏิบัติงานทางรังสีที่สอดคล้องกับกฎหมาย การจัดแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงาน และการติดป้าย สุขนิสัยในการปฏิบัติงาน การรักษาความมั่นคง มาตรการ วิธีการป้องกันอันตรายจากรังสี วิธีการความปลอดภัยทางรังสี และ วิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของต้นกำเนิดรังสี (Security) องค์ประกอบ ข้อห้าม ข้อพึงปฏิบัติ ข้อควรปฏิบัติ แนวปฏิบัติ ขั้นตอนปฏิบัติ/วิธีการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

14 การเก็บบันทึกและรายงาน
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ องค์ความรู้ จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนดและตามที่ หน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนผู้รับผิดชอบงานต้องการ จัดทำบันทึกที่กำหนดเป็นเอกสารและจัดเก็บ/จำหน่าย อย่างเหมาะสม ตามระเบียบคณะกรรมการตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จัดส่งรายงานบันทึกที่กำหนดให้กับสำนักงานปรมาณู เพื่อสันติตามกำหนด การเก็บบันทึกและรายงาน วิธีการเก็บบันทึกตามการประกันคุณภาพระบบความ ปลอดภัยทางรังสี และ รักษาความมั่งคงปลอดภัย วิธีการใช้ และการบันทึกแต่ละแบบรายงานตามกฎหมาย ตามที่หน่วยงานต้องการ วิธีการ กำหนดเวลาและขั้นตอนการส่งรายงานให้กับ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ข้อกำหนด แบบฟอร์มต่างๆ และการบันทึก Radidtion Safety Offier 16/07/62

15 สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ) หมวด ก
ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย Radidtion Safety Offier 16/07/62

16 การให้ความรู้ด้านการป้องกันอันตรายจากรังสี ความปลอดภัยทางรังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ ให้การฝึกอบรมด้านการป้องกันอันตรายจากรังสีและ ความปลอดภัยทางรังสีแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละระดับ ให้คำปรึกษาแนะนำด้านการป้องกันอันตรายจากรังสี การป้องกันอันตรายจากรังสี/ความปลอดภัยทางรังสี คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้เกี่ยวข้องแต่ละระดับชั้น และการปฏิบัติงาน/หน้าที่รับผิดชอบ ประเภทผู้ปฏิบัติ วุติการศีกษา ประสบการณ์ ลักษณะการปฏิบัติงาน Radidtion Safety Offier 16/07/62

17 การตรวจพิสูจน์(inspection)
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ ตรวจสอบว่าผู้ใช้รังสีทุกคนปฏิบัติตามวิธีการซึ่งป้องกัน มิให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับรังสีเกินที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย และเป็นไปตามหลักALARA สำรวจรังสี เพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินการของผู้ได้รับ อนุญาต อุปกรณ์และสถานที่ที่เกี่ยวข้องเป็นไปตาม กฎหมายกำหนด การตรวจพิสูจน์(inspection) การดำเนินการให้เป็นไปตามกฏหมาย การปฏิบัติตาม วิธีการป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี กฎระเบียบ... ข้อห้าม/ข้อพึงปฏิบัติ/ข้อควรปฏิบัติ/... การสำรวจรังสี เครื่องสำรวจรังสี และวิธีการใช้ วิธีการ/ขั้นตอนเข้าพื้นที่รังสี ALARA Radidtion Safety Offier 16/07/62

18 การตรวจสอบ(audit) สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ
หัsองค์ความรู้ ค้นหาจุดบกพร่องในแผนดำเนินการด้านความ ปลอดภัยทางรังสีขององค์กร (ยกเว้นระดับต้น) แนะนำมาตรการการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ไข จุดอ่อนหรือจุดบกพร่องในแผนดำเนินการ (ยกเว้น ระดับต้น) การตรวจสอบ(audit) แต่ละส่วนของโปรแกรมการควบคุมคุณภาพ แผนป้องกัน และ กฏระเบียบ ... ขั้นตอน/วิธีการเข้าตรวจ การตรวจสภาพเครื่องวัดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ การเลือกเครื่องวัดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่เหมาะสม การสำรวจพื้นที่เบื้องต้น โดยรอบ การเข้าสำรวจพื้นที่รังสีจริง ค้นหาจุดบกพร่อง... การประเมินอันตรายและแก้ไข/ป้องกันเบื้องต้น การให้การแนะนำ และรายงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขถาวร... Radidtion Safety Offier 16/07/62

19 การสอบสวน(investigation)
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ สอบสวนเหตุผิดปกติการได้รับรังสีสูง การเปรอะเปื้อน ทางรังสี และการสูญหายของวัสดุกัมมันตรังสี (ยกเว้น ระดับต้น) จัดทำรายงานการสอบสวน เพื่อเสนอต่อสำนักงาน ปรมาณูเพื่อสันติ (ยกเว้นระดับต้น) การสอบสวน(investigation) ขั้นตอนและวิธีการสืบค้น ค้นหา และสอบสวน การรายงานเหตุผิดปกติ หรือเหตุที่น่าสงสัย ระดับรังสีที่ต้องดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง การตอบสนองต่อเหตุผิดปกติโดยเจ้าหน้าที่ RSO การวิเคราะห์แนวโน้ม การวิเคราะห์และประเมิน วิเคราะห์ชนิดสารกัมมันตรังสี การวิเคราะห์/ประเมินสาเหตุ การได้รับรังสีและอันตราย การประเมินการเปรอะ/ปนเปื้อนทางรังสี การทำรายงานการสอบสวน Radidtion Safety Offier 16/07/62

20 การควบคุมการได้รับปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงาน
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัองค์ความรู้ บริหารจัดการระดับการได้รับรังสีให้มีประสิทธิภาพ ตามหลัก ALARA การควบคุมการได้รับปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงาน ประเภทรังสี ปริมาณรังสี และอัตราการแผ่รังสีที่เกี่ยวข้อง ความรู้เกี่ยวกับรังสีก่อไอออน ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงในการรับรังสี ผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิต หน่วยวัดรังสี การจำกัดการได้รับรังสี หลักการป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ALARA Radidtion Safety Offier 16/07/62

21 สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ) หมวด ข
ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย Radidtion Safety Offier 16/07/62

22 การบริหารจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอันตรายจากรังสี
ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ จัดเตรียมเครื่องวัด อุปกรณ์ เครื่องมือให้พร้อมและพอเพียงที่ จะใช้ในงานที่ต้องการ บริหารจัดการ การใช้ และการบำรุงรักษาเครื่องบันทึก ปริมาณรังสีประจำตัวบุคคล จัดให้มีการปรับเทียบมาตรฐานและบำรุงรักษาเครื่องสำรวจ รังสีตามกำหนด และเก็บบันทึกหลักฐานผลการปรับเทียบ มาตรฐานและบำรุงรักษา การบริหารจัดการเครื่องวัด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องให้พร้อมและพอเพียงกับการป้องกันอันตราย จากรังสี/ความปลอดภัยทางรังสี เครื่องวัดรังสี/เครื่องสำรวจรังสี การตรวจสอบเครื่องวัดรังสีและการปรับเทียบมาตรฐาน เครื่องใช้ในการป้องกันรังสีและเครื่องมืออื่นที่เกี่ยวข้อง การจัดหาและการตรวจสภาพพร้อมการใช้งานอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการป้องกันรังสี/ความปลอดภัยทาง รังสีสูงสุดเหมาะสมตามเหตุผลความจำเป็น Radidtion Safety Offier 16/07/62

23 การบริหารจัดการวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ การบริหารจัดการทะเบียนวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่อง กำเนิดรังสี การจัดซื้อ การรับ การขนส่ง การเก็บรักษาวัสดุกัมมันตรังสี การจัดการกากกัมมันตรังสี การบริหารบัญชีเข้า/ออกวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่อง กำเนิดรังสี ความรู้ความเข้าใจใน กฏระเบียบการบริหารจัดการทะเบียน วัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสี การขออนุญาต การดำเนินการให้เป็นตามกฏหมาย การจัดซื้อ การรับ การขนส่ง ข้อกำหนดการเก็บรักษาวัสดุกัมมันตรังสี ข้อกำหนดการจัดการกากกัมมันตรังสี การทำและบริหารบัญชีเข้า/ออกวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิด รังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

24 การตรวจวัดรังสีประจำตัวบุคคล
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หองค์ความรู้ จัดหาเครื่องบันทึกปริมาณรังสีให้กับผู้ปฏิบัติงาน เฝ้าตรวจการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน และตรวจสอบเมื่อผลการบันทึกรังสีแสดงว่าการได้รับรังสี นั้นสูงเกินกว่าที่ควร (ยกเว้นระดับต้น) จัดให้มีการดำเนินการเพื่อแก้ไขสาเหตุแห่งการได้รับรังสีสูง นั้น และจัดทำรายงานเสนอต่อสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ยกเว้นระดับต้น) จัดให้มีการเฝ้าตรวจการได้รับสารกัมมันตรังสีเข้าสู่ภายใน ร่างกาย ตามข้อกำหนดกฎหมาย (ยกเว้นระดับต้น) การตรวจวัดรังสีประจำตัวบุคคลเพื่อป้องกันอันตรายจากรังสี ภายนอกร่างกาย ภายในร่างกาย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการได้รับปริมาณรังสี การเฝ้าตรวจประจำบุคคล การตรวจวัดจากสิ่งขับถ่าย การวัดปริมาณรังสีจากภายนอกและภายใน ชีววิทยารังสี ผู้ปฏิบัติงานที่ตั้งครรภ์ Radidtion Safety Offier 16/07/62

25 การควบคุมความเปรอะเปื้อนทางรังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หองค์ความรู้ จัดให้มีการสำรวจการเปรอะเปื้อนทางรังสีหรือทดสอบ การรั่วไหลภายในห้องปฏิบัติการเครื่องมือ ผู้ปฏิบัติงาน หรือในบริเวณที่เก็บรักษาวัสดุกัมมันตรังสี (เฉพาะ ระดับสูง) การควบคุมความเปรอะเปื้อนทางรังสี การสำรวจความเปรอะเปื้อนทางรังสี การเฝ้าตรวจพื้นที่ วิธีโดยตรง วิธีโดยอ้อม การเฝ้าตรวจบุคคล การเข้า/ออกบริเวณเปรอะเปื้อนทางรังสี Radidtion Safety Offier 16/07/62

26 วิธีดำเนินการในกรณีเกิดเหตุผิดปกติหรือฉุกเฉินทางรังสี
สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบ หัsองค์ความรู้ พัฒนาวิธีการเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับเหตุ ฉุกเฉินทางรังสี (ยกเว้นระดับต้น) จัดตั้งทีมระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสีและ ดำเนินการฝึกซ้อม (ยกเว้นระดับต้น) วิธีดำเนินการในกรณีเกิดเหตุผิดปกติหรือฉุกเฉินทาง รังสี แผนปฏิบัติสำหรับเหตุต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้ รายชื่อผู้ที่ต้องติดต่อเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เครื่องมือสำหรับปฏิบัติงาน ทีมงาน และการฝึกซ้อม Radidtion Safety Offier 16/07/62

27 สรุป สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ หมวด ค
สรุป สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ หมวด ค ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

28 MTRD 427 Radiation Protection - RSO
1/19/2018 สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ (สมรรถนะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประกาศคณะกรรมการฯ พ.ร.บ พลังงานปรมาณู ๒๕๐๔) หมวด ก. ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และ ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย หมวด ข. ตรวจ กำกับดูแล และควบคุมความ ปลอดภัยทางรังสี หมวด ค. จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และ บริหารจัดการ การบริหารจัดการด้านความ ปลอดภัยทางรังสี การดำเนินการให้เป็นไป ตามกฎหมาย การขออนุญาต การวางกฎ ระเบียบ ใน การใช้รังสี การเก็บบันทึกและรายงาน การให้ความรู้ด้านการ ป้องกันอันตรายจากรังสี การตรวจพิสูจน์ (inspection) การตรวจสอบ (audit) การสอบสวน (investigation) การควบคุมการได้รับ ปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันอันตรายจากรังสี การบริหารจัดการทะเบียน วัสดุกัมมันตรังสีและเครื่อง กำเนิดรังสี การตรวจวัดรังสีประจำตัว บุคคล การควบคุมความเปรอะ เปื้อนทางรังสี วิธีดำเนินการในกรณีเกิด เหตุผิดปกติหรือฉุกเฉิน Radidtion Safety Offier 16/07/62

29 สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความบผิดชอบ)
ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

30 (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ต้องมีหน้าที่ในเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ อย่างเพียงพอกับศักยภาพขั้นมาตรฐานในการรับผิดชอบดูแลความปลอดภัยทางรังสีและความมั่นคงปลอดภัย (ในแต่ละประเภท แต่ละระดับ แล้วแต่กรณี) (ร่างกฏกระทรวง) (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี (๒) การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย (๓) การป้องกันอันตรายจากรังสี (๔) การรักษาความมั่นคงปลอดภัย (๕) การขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี (๖) การเตรียมความพร้อมกรณีเหตุฉุกเฉินทางรังสีหรือเหตุผิดปกติ (๗) การจัดการกากกัมมันตรังสีและการเลิกดำเนินการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

31 (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี มีหน้าที่ในการดูแลความปลอดภัยทางรังสีและรักษาความมั่นคงปลอดภัยอย่างน้อยในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี (๒) การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย (๓) การป้องกันอันตรายจากรังสี (๔) การรักษาความมั่นคงปลอดภัย (๕) การขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี (๖) การเตรียมความพร้อมกรณีเหตุฉุกเฉินทางรังสีหรือเหตุผิดปกติ (๗) การจัดการกากกัมมันตรังสีและการเลิกดำเนินการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

32 (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประเภทเครื่องกำเนิดรังสี มีหน้าที่การดูแลความปลอดภัยทางรังสีอย่างน้อยในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ (๑) การบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับความปลอดภัยทางรังสี (๒) การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย (๓) การป้องกันอันตรายจากรังสี (๔) การเตรียมความพร้อมกรณีเหตุฉุกเฉินทางรังสีหรือเหตุผิดปกติ (๕) การจัดการเครื่องกำเนิดรังสีที่เลิกใช้ และการเลิกดำเนินการ Radidtion Safety Offier 16/07/62

33 ศักยภาพ = สมรรถนะ+บทบาท+หน้าที่
Radidtion Safety Offier 16/07/62

34 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสีภายในองค์กร “การทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ” Radidtion Safety Offier 16/07/62 โดย จรูญ วรวาส กลุมอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

35 คำถาม rso@oap.go.th โทร 02-596-7600 ต่อ 2313 Radidtion Safety Offier
16/07/62


ดาวน์โหลด ppt ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google