งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวแปรและการวัดค่าตัวแปร สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวแปรและการวัดค่าตัวแปร สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวแปรและการวัดค่าตัวแปร สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย
อัญชลี จันทาโภ

2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
2.1 บอกความหมาย ความสำคัญและการวัดค่าตัวแปรได้ 2.2 อธิบายสมมติฐานการวิจัยและสมมติฐานทางสถิติได้ 2.3 ระบุหลักการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัยได้

3 ตัวแปร คุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ตัวแปรวิจัยต้องมีค่าที่แปรเปลี่ยนได้ เช่น เพศ มี 2 ค่าเป็นเพศชายและเพศหญิง

4 ตัวแปรตามเป็นแปรที่เกิดขึ้นเนื่องจากตัวตัวแปรอิสระเป็นเหตุ
ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนและเป็นตัวเหตุทําให้เกิดผลวิจัยตามมา ตัวแปรตามเป็นแปรที่เกิดขึ้นเนื่องจากตัวตัวแปรอิสระเป็นเหตุ ตัวแปรที่ทำการศึกษาวิจัยจะเป็นค่าที่สามารถวัดได้

5 ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. 2ส. ในวัยทำงาน
ตัวอย่าง ตัวแปรจากชื่อเรื่องวิจัย ความเครียดของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพของนักเรียน โรงเรียนวัดราชาธิวาส ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. 2ส. ในวัยทำงาน

6 ระดับของการวัดตัวแปรมี 4 ระดับ คือ ระดับนามบัญญัติ ระดับเรียงอันดับ และระดับอันตรภาคระดับอัตราส่วน

7 สมมติฐานการวิจัย (Hypothesis)
คือ คําตอบที่ผู้วิจัยคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่ศึกษา เขียนอยู่ในลักษณะของข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ของ ตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป และสามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้ โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ

8 ประเภทของสมมติฐาน สมมติฐานทางวิจัย (Research Hypothesis)
1.1 สมมติฐานแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis) 1.2 สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional Hypothesis) สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) 2.1สมมติฐานเป็นกลางหรือสมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรในลักษณะไม่มีความแตกต่างกัน ใช้สัญญลักษณ์ H0

9 สมมติฐานทางวิจัย (Research Hypothesis)
1.1 สมมติฐานแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis) 1.2 สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional Hypothesis)

10 ประเภทของสมมติฐาน H0 : µ 1 = µ2 H1 : µ 1 > µ 2
สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) 2.1 สมมติฐานเป็นกลางหรือสมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรในลักษณะไม่มีความ แตกต่างกัน ใช้สัญญลักษณ์ H0 2.2 สมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนอธิบายความสัมพันธ์ในลักษณะที่ตัวแปรมีความแตกต่างกัน H0 : µ 1 = µ2 H1 : µ 1 > µ 2 µ1 = ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุชาย µ 2= ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุหญิง

11 H0 : ความสามารถในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุชายไม่แตกต่างจากในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุหญิง H1 : ผู้สูงอายุชายมีความความสามารถในการออกกำลังกายมากกว่ากับผู้สูงอายุหญิง

12 กรอบแนวคิดการวิจัย การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นหลังจากผู้วิจัยได้กำหนดปัญหาการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้วิจัยจะต้องสังเคราะห์ผลการศึกษาให้เป็นกรอบแนวคิดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา โดยใช้แนวคิด หลักการ ทฤษฏี นำไปสู่การหาคำตอบการวิจัย

13 ความหมาย กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) เป็นรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์ตามทฤษฎีระหว่างตัวแปรที่ผู้วิจัยศึกษา ที่ได้มาจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือตัวแทนของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ (สุวิมล ว่องวานิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2546) กรอบแนวคิดในการวิจัย หมายถึง ขอบเขตของเนื้อหา สาระของงานวิจัยที่ศึกษา ประกอบด้วยตัวแปรอะไรบ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็นอย่างไรการกำหนดกรอบแนวคิดใน การวิจัยที่ดี จะต้องกำหนดขึ้นหลังจากที่ผู้วิจัยได้ศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ค่อนข้างที่จะครบถ้วน สมบูรณ์แล้ว (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2546)  

14 คุณลักษณะนักศึกษา เพศ ชั้นปี -ความเครียด เกรดสะสมเฉลี่ย
ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น คุณลักษณะนักศึกษา เพศ ชั้นปี เกรดสะสมเฉลี่ย รายได้ครอบครัว -ความเครียด -การเผชิญความเครียด

15 เครื่องมือวิจัยและการวัด
ความหมายและประเภทของเครื่องมือวิจัย การสร้างเครื่องมือวิจัย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย

16 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการ วิจัย
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง

17 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
อธิบายความหมายประชากรและกลุ่ม ตัวอย่างวิจัยได้ กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม เลือกหรือสุ่มกลุ่มอย่างได้อย่างเหมาะสม

18 ประชากรในทางการวิจัย หมายถึงหน่วยหรือสิ่งทั้งหมดที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาและทำให้ผู้วิจัยได้ข้อมูลในการตอบปัญหาวิจัย ประชากรอาจเป็น คนสัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆ *ประชากรอาจมีลักษณะแบบจำกัด (Finite Population) ที่สามารถระบุขอบเขตหรือนับจำนวนทั้งหมดได้ *ประชากรแบบไม่จำกัด(Infinite Population) ไม่สามารถที่จะระบุขอบเขตหรือจำนวนได้

19 กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยนำมาศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร เป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะต่างๆ ที่เหมือนกับประชากร *กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเล็กจะทำให้มีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนมาก *กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่จะมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนน้อย ขนาดกลุ่มตัวอย่างใหญ่ให้ข้อมูลที่เที่ยงตรง การคำนวณทางสถิติมีความถูกต้องมากกว่ากลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก

20 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
1 กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 % จำนวนประชากรหลักแสนใช้กลุ่มตัวอย่าง 1 %

21 ใช้สูตรคำนวณ ใช้สูตร ของ Taro Yamane (1973) ซึ่งเป็นสูตรที่ง่าย ไม่ซับซ้อน ที่สำคัญคือ บอกถึงจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำที่ต้องเก็บมาเพื่อการวิเคราะห์ เมื่อ n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N = จำนวนประชากร e = ค่าความคาดเคลื่อน (นิยมใช้ 0.05)

22 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน (krejcie-morgan-sample-size-table)

23 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % และความคลาดเคลื่อนในระดับต่างๆ

24 การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
1 การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) สะดวกและประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่า ประชากรมีโอกาสถูกเลือก ไม่เท่ากัน 1) การสุ่มโดยบังเอิญ (Accidental Sampling) 2) การสุ่มแบบโควตา (Quota Sampling) 3) การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) 4) การสุมกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก (Convenience Sampling)

25 การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability Sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยให้ประชากรทุกส่วนมีโอกาสถูกเลือกเท่ากัน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้สามารถนำผลที่ได้อ้างอิงไปยังประชากรได้ 1) การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) 2) การสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling)

26

27

28 การสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)
เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นชั้นภูมิย่อยๆ

29

30

31

32 การเลือกใช้สถิติ การใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลสำเร็จรูป SPSS

33 ประเภทของสถิติ 1 สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติอ้างอิง (Inferential statistics) 1) สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics ) (1) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมอยู่ในระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale) (2) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างจะต้องมีการแจกแจงเป็น โค้งปกติ (3) ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน 2) สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)

34 normal distribution คุณสมบัติของการแจกแจงแบบปกติ เป็นรูปโค้งระฆังคว่ำ
เป็นโค้งรูปสมมาตร ค่าเฉลี่ย, มัธยฐาน, และฐานนิยมเป็นจุดเดียวกัน มีจุดโค้งสูงสุดเพียงจุดเดียว ปลายโค้งทั้งสองข้างไม่จรดกับฐาน

35 พารามิเตอร์ (Parameter) คือ ค่าต่างๆ ที่รวบรวมมาจากประชากร
µ แทนค่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  แทนค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 แทนค่า ความแปรปรวน ρ แทนค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

36 ค่าสถิติ (Statistic) คือค่าต่างๆ ที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างหรือคำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง ใช้ตัวภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์ แทนค่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต s แทนค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน s2 แทนค่า ความแปรปรวน r แทนค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

37 สถิติบรรยาย ประกอบด้วย
*การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ *การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้

38 สถิติเปรียบเทียบหาความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง สรุปอ้างอิงหาความแตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างกลับไปยังประชากรที่ศึกษา ได้แก่ *การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ เป็นอิสระกันด้วย Independent t-test *การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ ไม่เป็นอิสระต่อกันด้วย pair t-test *การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 2 กลุ่มด้วย ANOVA *การเปรียบเทียบความถี่และสัดส่วนด้วย ไคสแควร์


ดาวน์โหลด ppt ตัวแปรและการวัดค่าตัวแปร สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google