งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตลาดพืชผัก การตลาดพืชผัก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตลาดพืชผัก การตลาดพืชผัก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตลาดพืชผัก การตลาดพืชผัก

2 การตลาดพืชผัก การปลูกผักในปัจจุบันมิใช่เป็นการปลูกผัก เพื่อยังชีพ แต่เป็นการเกษตรเพื่อการค้าและ อุตสาหกรรม ปัญหาการปลูกผักในประเทศไทยไม่ใช่เป็น การขาดแคลนเทคโนโลยี แต่กลับเป็นปัญหา เรื่องของการเพิ่มผลผลิตที่มีการลงทุนที่ต่ำ

3 การตลาดพืชผัก เกษตรกรผู้ปลูกผักจะต้องมีความรู้ด้านการปลูกผัก การขาย ความต้องการของตลาด และควรมีการวางแผนการผลิตผักโดยมีข้อมูลด้านการตลาดอย่างเพียงพอ ควรใช้ระบบ "การตลาดนำการผลิต"

4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการตลาดผัก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร (กองส่งเสริมพืชสวน) กรมวิชาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงพาณิชย์ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กรมส่งเสริมการส่งออก

5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการตลาดผัก
สหกรณ์การเกษตรทั้งหลาย บริษัทที่ข้อมูลบริษัทไม่สามารถเปิดเผยได้ มูลนิธิโครงการหลวง

6 บทบาทกระทรวงพานิชย์ การเพิ่มศักยภาพของตลาด
การให้ข้อมูลในเรื่องของตลาด การฝึกอบรมและให้ความรู้ในเรื่องของข้อมูลและข่าวสาร การผลักดันให้เกิดการสร้างระบบข้อมูลและข่าวสาร การประสานงานให้เกิดระบบข้อมูลระดับชาติ

7 บทบาทของกลุ่มพืชผัก กรมส่งเสริมการเกษตร
บทบาทของกลุ่มพืชผัก กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำเอกสารข้อมูลพืชผักเศรษฐกิจ สถานการณ์ทั้งด้านการผลิตและการตลาด เทคโนโลยีการผลิต แหล่งพันธุ์พืช ต้นทุนและรายได้ ราคาขายส่งและขายปลีก

8 บทบาทกองแผนงาน กรมส่งเสริมการเกษตร
จัดทำรายงานการปลูกผักเชิงการค้า รวบรวมกลุ่มผู้ปลูกผัก จำนวนสมาชิกของกลุ่มผู้ปลูกผัก จำนวนพื้นที่ที่ปลูก การจำหน่ายผักของเกษตรกร ช่วงเวลาที่ผักออกสู่ตลาด

9 มูลนิธิโครงการหลวง เป็นหน่วยงานที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐ
ดำเนินการด้านการตลาดผักบนที่สูง เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการตลาดผัก ต้นทุนการผลิตผักบนที่สูง ราคาของผัก ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตลาดโดยตรง สนับสนุนการตลาดและการวิเคราะห์ตลาด

10 ราคาผัก คือ มูลค่าของผักที่คิดเปรียบเทียบออกมาเป็นเงิน ซึ่ง ราคาของสินค้าเกษตรโดยทั่วๆไปมักไม่แน่นอน และคาดการณ์ได้ยาก เพราะขึ้นอยู่กับปัจจัย หลายอย่าง

11 ปัจจัยที่ใช้ในการกำหนดราคาผัก
1. ความต้องการของตลาดและผู้บริโภค 2. ปริมาณผลิตผล 3. ต้นทุนการผลิต 4. พ่อค้าคนกลาง 5. คุณภาพของผัก

12 3. ระยะที่ยังไม่ผลิตผัก
ราคาของผัก สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 1. ระยะตลาด 2. ระยะสั้น 3. ระยะที่ยังไม่ผลิตผัก

13 ราคาของผัก 1. ระยะตลาด กระบวนการผลิตผักสิ้นสุดลงแล้ว
มีปริมาณผักที่แน่นอน ราคาจะถูกกำหนดโดยผู้ซื้อ

14 ราคาของผัก 2. ระยะสั้น กระบวนการผลิตผักได้ดำเนินการไปแล้ว
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนผักที่เสนอขาย เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย ราคาของผักถูกกำหนดโดย ความสม่ำเสมอ ของผัก ความต้องการของตลาด และปัจจัย การผลิต

15 3. ระยะที่ยังไม่ผลิตผัก
ราคาของผัก 3. ระยะที่ยังไม่ผลิตผัก กระบวนการผลิตผักยังไม่ได้ดำเนินการ สามารถเปลี่ยนแปลงจำนวนผักได้เสมอ ราคาผักจะถูกกำหนดโดย ความต้องการของ ตลาดและต้นทุนการผลิต

16 ระดับราคาผัก 1. การกำหนดราคาผักในระบบตลาดของประเทศ ไทยยังถือราคาขายส่งที่ปากคลองตลาดเป็นหลัก 2. ข่าวสารข้อมูลจากพ่อค้าท้องถิ่น และชาวสวนผัก ที่เป็นลูกสวน ในแต่ละท้องถิ่นเกี่ยวกับปริมาณ การผลิต 3. ราคาผักในวันที่ผ่านมา 4. ประสบการณ์และการคาดคะเน

17 ตลาดที่เกี่ยวข้องกับผัก
ระบบตลาดของประเทศไทยแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ 1. เกษตรกรเป็นผู้ขายตรงสู่ผู้บริโภค เกษตรกรเป็นผู้นำผักไปขายเองที่ตลาดท้องถิ่น เกษตรกรจำหน่ายผักเองที่บริเวณหน้าสวน เป็นเกษตรกรรายย่อย

18 ตลาดที่เกี่ยวข้องกับผัก
2. เกษตรกรจำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง เกษตรกรขายเหมาสวน เกษตรกรเก็บเกี่ยวเองแล้วบรรจุหีบห่อเพื่อ จำหน่ายให้แก่พ่อค้าคนกลางที่มารับซื้อผักที่สวน เกษตรกรนำผลิตผลไปจำหน่ายให้พ่อค้าคนกลาง ที่ตลาด

19 ตลาดที่เกี่ยวข้องกับผัก
3. เกษตรกรรวมกลุ่มหรือตั้งเป็นสหกรณ์ สหกรณ์เป็นผู้รวบรวมผัก คัดขนาดและ คุณภาพ บรรจุ ขนย้าย ผักที่ผ่านสหกรณ์จะอยู่ภายใต้ เครื่องหมายการค้าเดียวกัน เป็นการรับประกันคุณภาพของผลิตผล

20 ตลาดที่เกี่ยวข้องกับผัก
4. เกษตรกรทำสัญญาล่วงหน้ากับพ่อค้า พ่อค้าหรือผู้ซื้อจะรับรองราคาสำหรับ ปริมาณและคุณภาพสินค้าที่ผลิตขึ้นมา

21 นโยบายด้านการตลาด ของมูลนิธิโครงการหลวง
1. ช่วยเหลือเกษตรกร โดยหักค่าการตลาดบางส่วน แล้วคืนค่าผลิตผลให้เกษตรกรทั้งหมด 2. ไม่ผลิตผักที่พื้นที่ราบปลูกได้ แต่อาจจะปลูกนอก ฤดูกาล 3. การแปรรูปจะเน้นแปรรูปผลิตผลที่มากหรือ เหลือจากความต้องการของตลาด 4. สร้างเอกลักษณ์ โดยมีเครื่องหมายการค้าเพื่อ จำหน่ายผักที่มีคุณภาพดี

22 ระดับตลาดผักจากสวนถึงผู้บริโภค
แบ่งออกเป็น 4 ระดับ 1. ตลาดระดับไร่นา จำหน่ายผักที่ผลิตโดยเกษตรกร 2. ตลาดระดับขายส่ง ระดับตลาดท้องถิ่น ระดับตลาดในกรุงเทพฯ

23 ระดับตลาดผักจากสวนถึงผู้บริโภค
3. ตลาดระดับขายปลีก พ่อค้าขายปลีกซื้อผักมาจากผู้ขายส่ง หรือเกษตรกรที่นำมาขายเอง แล้วนำไปขายปลีกให้แก่ผู้บริโภค 4. ตลาดระดับส่งออก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ประเทศใกล้เคียง คือ สิงคโปร์ มาเลเซีย ฮ่องกงและญี่ปุ่น ประเทศในตะวันออกกลางและยุโรป

24 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
ข้าวโพดฝักอ่อน ประเทศที่ต้องการ คือ อังกฤษ เยอรมัน สวิสเซอร์แลนด์ แคนาดา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และฮ่องกง เป็นข้าวโพดฝักอ่อนพันธุ์ใดก็ได้ แต่ต้องสด สีเหลืองอ่อน ความยาวไม่เกิน 6-9 ซม. กว้าง 1.5 ซม มีปริมาณ ฝักต่อกิโลกรัม

25 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
ขิง ประเทศที่ต้องการ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และซาอุดิอาระเบีย ไม่ได้กำหนดพันธุ์และคุณภาพที่แน่นอน

26 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
พริก ประเทศที่ต้องการ คือ แคนาดา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สวิสเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม สวีเดน ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลี และ ซาอุดิอาระเบีย ต้องการพริกชี้ฟ้าพันธุ์บางช้างสีแดงหรือเขียว ขนาดสม่ำเสมอ ไม่มีจุดดำ เน่า หรือแตก

27 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
หน่อไม้ฝรั่ง ประเทศที่ต้องการ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมัน เนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลีย ฮ่องกง สิงคโปร์ และเกาหลี

28 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
เผือก ประเทศที่ต้องการ คือ ฮ่องกง และสิงคโปร์ ต้องการหัวที่มีขนาด 0.8 กก. ขึ้นไป มะเขือเทศ ประเทศที่ต้องการ คือ ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลี ซาอุดิอาระเบีย และบรูไน

29 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
ถั่วฝักยาว ประเทศที่ต้องการ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สวิสเซอร์แลนด์ แคนาดา ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลี และซาอุดิอาระเบีย ต้องมีฝักยาว นิ้ว มีขนาดสม่ำเสมอ สด ผิวเกลี้ยง เนื้อกรอบ ฝักยังไม่แยกออกจากเมล็ด

30 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
ผักบุ้งจีน ประเทศที่ต้องการ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส แคนาดา เยอรมัน สวิสเซอร์แลนด์ สวีเดน สิงคโปร์ ฮ่องกง และซาอุดิอาระเบีย ผักบุ้งจีนต้องมีลำต้นอวบ มียอดติดอยู่ ตัดรากเรียบร้อย

31 ชนิดและคุณภาพของผัก ตามความต้องการของตลาดต่างประเทศ
เห็ด ประเทศที่ต้องการ คือ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ลาว โอมาน บรูไน และซาอุดิอาระเบีย กระเจี๊ยบสด ประเทศที่ต้องการ คือ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น ต้องมีฝักตรง ไม่คดงอ ขนาดสม่ำเสมอ

32 1. ผู้รวบรวมผักในท้องถิ่น
วิถีการตลาด พืชผักที่ปลูกโดยเกษตรกรสู่ผู้บริโภค มีวิถีการเดินทา หลายทาง โดยมีผู้ที่ทำหน้าที่ด้านการตลาดเกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ผู้รวบรวมผักในท้องถิ่น 2. ผู้ขายส่ง 3. โรงงานแปรรูป 4. ผู้ส่งออก 5. ผู้ขายปลีก

33 การกำหนดมาตรฐานผัก 1. คำจำกัดความของผัก 2. ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน ชนิด
ลักษณะ 2. ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน ผลิตผลต้องมีสภาพเต็มหน่วย สมบูรณ์ สะอาด ปราศจากกลิ่นและรสที่ปลอมปนมา

34 การกำหนดมาตรฐานผัก 3. การแบ่งชั้นมาตรฐาน สี ความสม่ำเสมอ
การปรากฎร่องรอยการทำลายของโรคและแมลง การปลอดจากการปนเปื้อนของสารเคมี

35 การกำหนดมาตรฐานผัก 4. ขนาดหรือน้ำหนัก 5. การบรรจุหีบห่อ
รายละเอียดของผักที่อยู่ด้านนอก 6. เครื่องหมายการค้า บอกแหล่งกำเนิดของผัก 7. ข้อกำหนดเพิ่มเติม ข้ออนุโลม

36 ประโยชน์ของการจัดมาตรฐานผัก
ทำให้เกิดความสะดวกในการดำเนินการ ด้านการตลาด ส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี สะดวกในการกำหนดปริมาณและลักษณะผลิตผล ที่จำหน่ายในแหล่งต่างๆ สามารถเก็บข้อมูลด้านราคาผลิตผลต่างๆได้ อย่างถูกต้อง เพิ่มความต้องการผักในตลาด

37 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
1. รสชาติและเนื้อสัมผัส (Taste and Texture) รสชาติที่เป็นที่นิยมของผู้บริโภคขึ้นอยู่กับ ความผันแปรทางธรรมชาติ ความชอบ วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น ประสบการณ์ของผู้บริโภค ปริมาณของน้ำตาล กรดอินทรีย์ เกลือ และกลิ่นต่างๆ

38 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
2. เม็ดสี ( Pigment ) เม็ดสีในกลุ่มแอนโธไซยานินส์ (Anthocyanins) มีประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้บริโภค เม็ดสีสีเหลืองในกลุ่มคาร์โรทีนอยด์ (Carotenoids) โดยเฉพาะเบต้าแคโรทีน (β - carotene) นั้นสามารถ เปลี่ยนเป็นวิตามินเอได้ในร่างกายมนุษย์

39 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
3. ไม่มีเมล็ด (Seedlessness) เกิดจากการเกิด Parthenocarpy เกิดจากลูกที่มีจำนวนโครโมโซม 3 ชุด หรือ Triploid ซึ่งเกิดมาจากการผสมกันของพืชชนิด Diploid กับ Tetraploid ซึ่งได้ลูกผสมที่เป็น หมัน

40 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
4. อายุการใช้งาน พยายามคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์พืชให้พัฒนาช้า โดยเฉพาะกระบวนการสุกและกระบวนการเสื่อม สลายของผลิตผล

41 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
5. ปริมาณสารอาหาร คุณค่าทางอาหารสูง สารบางชนิดที่ปรากฏอยู่ในผักที่มีคุณสมบัติเป็นสาร ต่อต้านการเกิดมะเร็ง เช่น β - carotene สารบางชนิดในผักซึ่งเป็นสารที่เชื่อกันว่าช่วยลดหรือ ละลายคลอเลสเตอรอลในร่างกายได้ เป็นแหล่งที่สำคัญของใยอาหาร (Fiber) ที่ละลายน้ำได้

42 ลักษณะของผักที่ผู้บริโภคต้องการ
6. ปลอดสารเคมี สารเคมีฆ่าแมลง ฆ่าเชื้อรา สารควบคุมการเจริญเติบโต


ดาวน์โหลด ppt การตลาดพืชผัก การตลาดพืชผัก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google