ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยIrwan Pranata ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
กฎหมายในโลกสมัยใหม่และ ความเคลื่อนไหวของสังคมที่เป็นพลวัตร
Law & Globalization กฎหมายในโลกสมัยใหม่และ ความเคลื่อนไหวของสังคมที่เป็นพลวัตร Law & Globalization
2
ภาพรวม กฎหมาย รัฐ ความเชื่อศาสนา โลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยี
กระบวนการยุติธรรม วัฒนธรรม เพศภาวะ จารีต ประเพณ๊ Law & Globalization
3
อะไรคือGlobalization?
Count down around the world! เราดูหนัง ฟังเพลง บริโภคอะไรบ้าง? โลกาภิวัตน์ หมายความว่าอย่างไร? โลก + อภิวัฒน์ (อภิ + วัฒนา = การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่) Alvin Toffler: The Third Wave I Green Revolution II Industrial Revolution III Information Technology Revolution Law & Globalization
4
I Agricultural Revolution
6
5
I Agricultural Revolution
7
6
I Agricultural Revolution
ก่อนหน้า ในยุคสังคมดั้งเดิม primitive society จากสังคมการล่าสัตว์ และการเร่ร่อน มาสู่ สังคม เพาะปลูก การจับจองที่ดินและตั้งถิ่นฐาน การเพาะปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือน สู่การแลกเปลี่ยนของที่ผลิตได้ สู่สังคมพาณิชนิยม จากการผลิตเพื่อบริโภค สู่การผลิตเพื่อขาย Comparative Advantage (หลักการผลิตโดย เปรียบเทียบ) ผลิตอย่างเดียวให้ชำนาญ สร้างศักยภาพ ในการผลิตให้สูงขึ้น แล้วไปค้าขายกับคนอื่น จำนวนประชากรน้อย ทรัพยากรมีมาก – happy ☺ 8
7
II Industrial Revolution
9
8
II Industrial Revolution
การปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มจากการใช้เครื่องจักรไอน้ำ ทำให้การผลิตในสังคม สามารถผลิตได้เพิ่มขึ้น ระบบ การขนส่ง รถไฟ เรือกลไฟ การขุดเจาะน้ำมัน การสกัดน้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน การผลิตเหล็กกล้า สู่อุตสาหกรรมรถยนต์ การคิดค้นการผลิตกระแสไฟฟ้า และโทรศัพท์ 10
9
III Information Technology Revolution
ยุค 1950 เริ่มมีการคิดค้นระบบคอมพิวเตอร์ ยุคของความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ วิทยาการก้าวหน้าไปอย่างก้าวกระโดด 11
10
Green Revolution การปฏิวัติเขียว – การปฏิวัติในระบบการเกษตร
เน้นการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์ cash crop ปลูกอย่างเดียว เยอะๆ plantation; mono crop การ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว 12
11
Green Revolution ผลที่ตามมาคือ การปลูกพืชอย่างเดียว ทำให้ดินเสื่อม โทรมเร็ว ต้องใช้ปุ๋ย การระบาดของแมลงมีมากขึ้น รุนแรงมากขึ้น จึงต้องใช้ยาฆ่าแมลงเยอะขึ้น 13
12
การเปลี่ยนแปลงของโลก
Globalization, localization, de-globalization! สิ่งที่เราบริโภคทุกวันนี้ มาจากไหน? การได้มา ต้องเสีย/จ่ายอะไรบ้าง? The 100 Miles Diet ระบบความสัมพันธ์ของคนในโลก (ข้ามพรมแดน) ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การติดต่อเชื่อมกัน นำมาซึ่งสิ่งที่ไม่ดี และดี เช่น โรคระบาด ยาเสพติด มาเฟียข้ามชาติ การค้า การเงินการลงทุน ทรัพยากร คุณค่าทางจริยธรรม Law & Globalization
13
สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทำไม?
ความเคลื่อนไหวของสังคมสมัยใหม่ (สังคมโลก) ในการสร้างเครื่องมือในการจัดระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม รวมไปถึงการจัดการสังคม และทรัพยากรในโลกสมัยใหม่ สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทำไม? กลไกทางกฎหมายที่เป็นเครื่องมือนี้มีความเข้มแข็งแตกต่างกัน Law & Globalization
14
1 รูปแบบและวิธีการของการอภิวัฒน์ โลกและกฎหมาย 2 ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์
Globalization II 1 รูปแบบและวิธีการของการอภิวัฒน์ โลกและกฎหมาย 2 ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ Law & Globalization
15
การอภิวัฒน์ของโลก การขยายอิทธิพลและกิจกรรมเข้าพรมแดนโดยอาศัย
อิทธิพลทางกายภาพ อิทธิพลทางโครงสร้าง อิทธิพลทางวัฒนธรรม Law & Globalization
16
การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน
คนส่วนน้อยครองงำคนส่วนมาก แบบจักรวรรดิ Empire ดินแดนที่พระอาทิตย์ไม่เคยตกดิน – British Empire 1897 Law & Globalization
17
การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน
คนส่วนใหญ่ปฏิวัติจากเบื้องล่าง แบบมติมหาชนMultitude Law & Globalization
18
ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์
ผลทางการเมือง รัฐชาติ องค์เหนือรัฐ ประชาสังคมข้ามชาติ ผลทางเศรษฐกิจ การค้า/สินค้า การลงทุนข้ามชาติ ทรัพย์สินทางปัญญา กิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติ Law & Globalization
19
ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์
ผลทางสังคม พรมแดน สัญชาติ สิทธิ-หน้าที่ของคนข้ามรัฐ สังคมของคนข้ามรัฐและพหุสังคม ผลทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมเชิงเดี่ยวครอบงำโลก วัฒนธรรมป๊อบ วัฒนธรรมบริโภค ไร้ราก ไร้วัฒนธรรมของตนเองที่เป็นอัตลักษณ์ Law & Globalization
20
ความเปลี่ยนแปลงของ โลกาภิวัตน์ที่กระทบต่อกฎหมาย
การล่าอาณานิคม เพื่อใช้ทรัพยากรของคนอื่น การกระจายตัวของประเทศเจ้าอาณานิคมแบบจักรวรรดินิยม การปฏิวัติอุตสาหกรรม การสะสมทุนจนโตแล้วไปแตกที่อื่น สงครามมหาอำนาจโลกตะวันตก รัฐชาติ ชาตินิยม ชาติพันธุ์นิยม การกำเนิดสหประชาชาติ การปลดปล่อยอาณานิคมทางเศรษฐกิจ การเมือง สงครามเย็น ระหว่างอุดมการเศรษฐกิจการเมืองสองขั้ว ชัยชนะของวัฒนธรรมเสรีนิยมสมัยใหม่ โลกาภิวัตน์ การปฏิวัติคลื่นลูกที่ 3 Law & Globalization
21
อุดมการณ์โลกาภิวัตน์ กับการต่อสู้ทางเศรษฐกิจการเมือง
1 อุดมการณ์วัฒนธรรมสังคมนิยม ความเสมอภาคของปัจเจกชน ความเป็นธรรมของสังคม ยึดสังคมเป็นหลัก 2 อุดมการณ์วัฒนธรรมทุนนิยมเสรี เสรีภาพของปัจเจกชน ความมั่งคั่ง ปัจเจกชนนิยม Law & Globalization
22
กฎหมายต่างๆที่สะท้อน กระแสโลกาภิวัตน์
กฎหมายระหว่างประเทศ จัดแบ่งตามความสัมพันธ์ออกเป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี บุคคล และกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คือ กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน ที่มีมิติระหว่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง คือกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ องค์การระหว่างประเทศและรัฐ-เอกชน การแบ่งประเภทของกฎหมายระหว่างประเทศอีกแบบซึ่งอยู่บนพื้นฐานของเนื้อหาสาระของกฎหมาย ได้แก่ กฎหมายสิทธิมนุษยชน กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ Law & Globalization
23
Globalization III 1 Actors 2 ภาวะของโลกาภิวัตน์ในโลกปัจจุบัน
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ State and non-state actors 2 ภาวะของโลกาภิวัตน์ในโลกปัจจุบัน Law & Globalization
24
Actors in International Law
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ – รัฐ ความเคลื่อนไหวข้ามพรมแดน(มองในมิติของผู้กระทำ) ทั้งรัฐกับรัฐ เอกชนกับเอกชน เอกชนกับรัฐ ในมิติทั้ง 4 ด้าน เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เหตุผลที่บุคคลต่างๆใช้กฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือ - เมื่อเครื่องมือที่มีกฎหมายภายในไม่ได้ผล Law & Globalization
25
องค์กรระหว่างประเทศ การเกิดขึ้นขององค์กรระหว่างประเทศต่างๆ
มักอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงระหว่างรัฐ พหุภาคี หรือทวิภาคี การพัฒนาของกฎหมายระหว่างประเทศ และองค์กรโลกบาลหลังสงครามโลก องค์กรสหประชาชาติ United Nations องค์กรการค้าโลก WTO (World Trade Organization) องค์กรทางด้านการเงิน IMF, World Bank, ADB การรวมกลุ่มกัน เช่น EU & ASEAN Law & Globalization
26
สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN)
ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำเนิดขึ้นเป็นองค์การที่สองต่อจากสันนิบาตชาติ (The League of Nations) มีสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงอยู่ 5 ประเทศ อันประกอบด้วย สาธารณรัฐประชาชนจีน (แทนที่สาธารณรัฐจีน) ฝรั่งเศส รัสเซีย (แทนที่สหภาพโซเวียต) สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา Law & Globalization
27
การรวมตัวกันของ องค์กระหว่างประเทศ State Actors
เพื่อรักษาความสงบสุขของโลก เพื่อสร้างหลักประกันสิทธิและเสรีภาพ สิทธิพลเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สร้างกติกาที่เป็นธรรมในการแข่งขันทางการค้า รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโลก Law & Globalization
28
Non-State Actors ในขณะที่องค์กรระหว่างรัฐรวมตัวเจรจากัน องค์กรที่ไม่ใช่รัฐก็ก่อตัวขึ้นเช่นกัน ความเคลื่อนไหวของ non-state actors เช่น องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม Green Peace, Human Rights Watch, Red Cross, OXFEM ปัญหาของการยอมรับในทางกฎหมาย – มีอำนาจฟ้องคดีสู่องค์กรระหว่างประเทศหรือไม่? ประเด็นหลักอยู่ที่เป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่ Law & Globalization
29
กลไกในการบังคับใช้กติการะหว่างประเทศ
การเข้าร่วมเป็นภาคี การให้สัตยาบันในข้อตกลงระหว่างประเทศ การนำมาบังคับใช้ภายในรัฐ การทำรายงานและการติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลงระหว่างประเทศ การจัดการกับข้อพิพาท จบ ☃ Law & Globalization
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.