งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ยินดีต้อนรับทุกท่าน ด้วยความยินดียิ่ง

2 คำขวัญจังหวัดตรัง เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ
ถิ่นกำเนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำตกสวยตระการตา “ชาวตรังใจกว้าง สร้างแต่ความดี” 2

3 พิพิธพันธ์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ พิพิธพันธุสัตว์น้ำราชมงคล อ.สิเกา
สถานที่ท่องเที่ยว พิพิธพันธ์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ อ.กันตัง สวนพฤกษศาสตร์ภาคใต้ อ.ย่านตาขาว สถานีรถไฟกันตัง พิพิธพันธุสัตว์น้ำราชมงคล อ.สิเกา 3 3

4 บ่อน้ำร้อนควนแคง อ.กันตัง ยางพาราต้นแรก อ.กันตัง
วัดถ้ำพระพุทธ สถานที่ท่องเที่ยว อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ อ.เมือง ศาลหลักเมืองตรัง วัดภูเขาพระยอด บ่อน้ำร้อนควนแคง อ.กันตัง ยางพาราต้นแรก อ.กันตัง ถ้ำเขาช้างหาย อ.นาโยง 4 4

5 น้ำตกร้อยชั้นพันวัง อ.วังวิเศษ น้ำตกสายรุ้ง อ.ย่านตาขาว น้ำตกโตนเต๊ะ
Waterfall น้ำตกสายรุ้ง อ.ย่านตาขาว น้ำตกโตนเต๊ะ อ.ปะเหลียน น้ำตกไพรสวรรค์ อ.ย่านตาขาว น้ำตกกะช่อง อ.นาโยง น้ำตกโตนลำปลอก อ.ปะเหลียน น้ำตกโตนตก อ.ปะเหลียน 5

6 สถานที่ท่องเที่ยว ทางทะเล เกาะรอก เกาะม้า เกาะกระดาน ถ้ำมรกต หาดปากเมง
เกาะเชือก เกาะหลาวเหลียง ทางทะเล เกาะม้า เกาะกระดาน ถ้ำมรกต หาดปากเมง เกาะมุกด์ หาดหยงหลิง 6 6

7 แผนที่ / การปกครองจังหวัดตรัง
พื้นที่ 4, ตร.กม. แบ่งเป็น 10 อำเภอ 87 ตำบล 22 เทศบาล 99 ชุมชน 77 อบต. 723 หมู่บ้าน 216,333 หลังคาเรือน 7

8 ข้อมูลประชากร ประชากร 641,684 ชาย 314,211 หญิง 327,473 การนับถือศาสนา
ประชากร 641,684 ชาย ,211 หญิง ,473 การนับถือศาสนา สัดส่วนของประชากร ที่มา: ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ 31 ธค.58 8

9 จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี)
ปิรมิดประชากร จ.ตรัง อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ของประชากรในจังหวัดตรัง ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าบุคคลที่เกิดมาแล้ว จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) ที่มา: ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ 31 ธค.59 9 9

10 สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ
รพศ แห่ง รพช แห่ง รพ.เฉลิมพระเกียรติฯ แห่ง รพ.เฉพาะทาง (รพ.โรคผิวหนังฯ) 1 แห่ง รพ.สต แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข 7 แห่ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง 1 แห่ง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิริธร ตรัง 1 แห่ง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง 1 แห่ง ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง 1 แห่ง โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จ.ตรัง 1 แห่ง 10 10

11 สถานบริการสาธารณสุขภาคเอกชน
รพ.เอกชน แห่ง คลินิกเอกชน แห่ง ร้านขายยา แห่ง 11 11

12 สถิติชีพ สถานะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ

13 สถิติชีพ ของจังหวัดตรัง ปี 2559 อัตราเกิด 9.59 ต่อพันประชากร
อัตราเกิด ต่อพันประชากร อัตราตาย ต่อพันประชากร อัตราเพิ่ม % ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.59) 2. จำนวนเกิดมีชีพจากสูติบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.59) 3. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.58 13

14 สถิติชีพ จังหวัดตรัง ปี 2559
สถิติชีพ จังหวัดตรัง ปี 2559 เกิดมีชีพ ตาย เพิ่ม ลำดับ อำเภอ ประชากร จำนวน อัตรา ร้อยละ (คน) ต่อพัน 1 อำเภอเมืองตรัง 155,828 4090 26.25 1032 6.62 3,058 1.96 2 อำเภอกันตัง 86,884 329 3.79 531 6.11 (202) (0.23) 3 อำเภอย่านตาขาว 64,404 301 4.67 431 6.69 (130) (0.20) 4 อำเภอปะเหลียน 67,356 271 4.02 428 6.35 (157) 5 อำเภอสิเกา 37,820 194 5.13 232 6.13 (38) (0.10) 6 อำเภอห้วยยอด 94,626 419 4.43 600 6.34 (181) (0.19) 7 อำเภอวังวิเศษ 43,513 197 4.53 237 5.45 (40) (0.09) 8 อำเภอนาโยง 44,474 170 3.82 289 6.50 (119) (0.27) 9 อำเภอรัษฎา 29,137 5.83 168 5.77 0.01 10 อำเภอหาดสำราญ 16,751 0.18 103 6.15 (100) (0.60) รวม 640,793 6,144 9.59 4,051 6.32 2,093 0.33 ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.59) 2. จำนวนเกิดมีชีพจากสูติบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.59) 3. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.58 14

15 อัตราเกิด/อัตราตาย/อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ
จังหวัดตรัง ปี อัตราตายต่อแสนประชากร อัตราเกิด/อัตรตายต่อพันประชากร อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนเกิด-ตาย จากรายงานสูติบัตร/มรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.) 2. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค. 15

16 อัตราตาย 5 อันดับแรกของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราตาย 5 อันดับแรกของจังหวัดตรัง ปี อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 16

17 อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง 5 อันดับแรกของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง 5 อันดับแรกของจังหวัดตรัง ปี อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 17

18 อัตราตายด้วยอุบัติเหตุจราจรของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (มค. -ธค.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 18

19 อัตราตายด้วยโรคปอดบวม แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราตายด้วยโรคปอดบวม แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค ธค.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 19

20 อัตราป่วยของผู้ป่วยนอก 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราป่วยต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงาน 504 (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม) รายปีงบประมาณ (ตค.-กย) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 20

21 อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงาน 505 (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม) รายปีงบประมาณ (ตค.-กย) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 21

22 อัตราป่วยด้วยโรคทางระบาดวิทยาที่เป็นปัญหา 5 อันดับแรก
ของจังหวัดตรัง ปี อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.-ธค) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 22

23 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราป่วยต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงาน 506 ปี (มค. -ธค.) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 23

24 สัดส่วนผลงานการให้บริการจำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
สัดส่วนผลงานการให้บริการจำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี ร้อยละ ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยนอก จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รายปีงบประมาณ (ตค.-กย.) 2. สัดส่วนการให้บริการแต่ละระดับเทียบเป็นร้อยละจากจำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด 24

25 อัตราการให้บริการจำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราการให้บริการจำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี อัตราต่อแสนประชากร ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยนอก จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รายปีงบประมาณ (ตค.-กย.) 2. อัตราการให้บริการต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.)

26 อัตราการครองเตียงของ รพ.รัฐ ในจังหวัดตรัง ปี 2555-2559
อัตราการครองเตียงของ รพ.รัฐ ในจังหวัดตรัง ปี ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยใน จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รายปีงบประมาณ (ตค.-กย.) 2. อัตราการครองเตียงของผู้ป่วยใน 26

27 อัตราส่วนของบุคลากร 1 คน ต่อประชากรในเขตรับผิดชอบ
ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. ข้อมูลบุคลากรจากงานบุคลากร 2. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.58 27

28 ค่า CMI ปี 2559 ของโรงพยาบาลในจังหวัดตรัง
ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. ข้อมูล CMI ปี 2559 (ตค.58-กย.59) 2. จากคลังข้อมูลสุขภาพ (datacenter) 43 แฟ้ม 28

29 ลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2559
ลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2559 1. การป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2. การตายด้วยโรคหัวใจ /หลอดเลือดสมอง 3. การตายด้วยโรคมะเร็ง 4. การบาดเจ็บและการตายด้วยอุบัติเหตุ 5. การระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก 6. การระบาดของโรคมือเท้าปาก 7. มารดาตาย 8. โรคโลหิตจาง/ภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ 9. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 10. เด็กปฐมวัย&วัยเรียน ฟันผุ 11. ความไม่ปลอดภัยจากห่วงโซ่อาหาร 12. ความแออัดของการเข้ารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐ

30 ข้อมูลอัตรากำลังเจ้าหน้าที่สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ปี 2558 (ไม่รวม รพศ.ตรัง) จำนวนเจ้าหน้าที่ทั้งหมด ,586 คน จำแนกดังนี้ ข้าราชการ 1,384 คน ลูกจ้างประจำ คน พนักงานราชการ คน พนักงานกระทรวงสาธารณสุข คน ลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง คน 30 30

31 ข้อมูลอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ ของโรงพยาบาลตรัง
ปี ( ข้อมูล ณ 30 ก.ย 58 ) จำนวนเจ้าหน้าที่ทั้งหมด , คน จำแนกดังนี้ ข้าราชการ คน ลูกจ้างประจำ คน พนักงานราชการ คน พนักงานกระทรวงสาธารณสุข คน ลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง คน *** ขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพ คน *** 31 31

32 ผู้บริหารสาธารณสุขจังหวัดตรัง
32 32

33 นายแพทย์วิฑูรย์ เหลืองดิลก
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นายแพทย์วิฑูรย์ เหลืองดิลก สร้างคน สร้างสุข สร้างคุณภาพ” 33 33

34 นายสมบัติ ผดุงวิทย์วัฒนา รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง
นายสมบัติ ผดุงวิทย์วัฒนา รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) นายธีระศักดิ์ มักคุ้น รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) -กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค -กลุ่มงานประกันสุขภาพ -งานส่งเสริมสุขภาพ -งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ -งานควบคุมโรคติดต่อ -กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข -งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลและสุขภาพ ภาคประชาชน -งานทันตสาธารณสุข -งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 34 34

35 นายอาเนช โออิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง
นายอาเนช โออิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ งานบริหารทั่วไป -งานการเจ้าหน้าที่ -งานการเงินและบัญชี -งานพัสดุ -งานธุรการ 35 35

36 หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ว่าง หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ( ) หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ (นายสมศักดิ์ สรรเกียรติกุล) หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข (นายอนันต์ อัครสุวรรณกุล) หัวหน้างานบริหารทั่วไป (นางธิตาพร แก้วเพ็ง) หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน (นายจำเป็น ชาญชัย) หัวหน้างานทันตสาธารณสุข (นางอาภาพรรณี เขมวุฒิพงษ์) 36

37 หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ หัวหน้างานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ว่าง หัวหน้ากลุ่มงานนิติการ ( ) หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ (นายประนอม ตุลยกุล) หัวหน้างานควบคุมโรคติดต่อ (นางประไพ เจริญฤทธิ์) หัวหน้างานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (นายศุภชาติ เขมวุฒิพงษ์) หัวหน้างานอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย (นายบุญโยค นนท์ธีระรังสี)

38 ว่าง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตรัง (นางจิรวรรณ อารยะพงษ์)
(นางจิรวรรณ อารยะพงษ์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลห้วยยอด (นายปิยวิทย์ เนกขพัฒน์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกันตัง (นายยศกร เนตรแสงทิพย์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว (นายสินชัย รองเดช) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลปะเหลียน (นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล)

39 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนาโยง (นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล)
(นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวังวิเศษ (นายสมเกียรติ พยุหเสนารักษ์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสิเกา (นายวิชัย สว่างวัน) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลรัษฎา (นายชัยณรงค์ มากเพ็ง) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดสำราญ (นายนาราเมธ ก้อเด็ม)

40 สาธารณสุขอำเภอเมืองตรัง (นายประสงค์ ปัญจเมธีกุล) สาธารณสุขอำเภอกันตัง
(นายราชัน อรุณแสง) สาธารณสุขอำเภอย่านตาขาว (นายอุดม ใส้เพี้ย) สาธารณสุขอำเภอปะเหลียน (นายปรีชา ชุมดี) สาธารณสุขอำเภอสิเกา (นายปริญญา จำนงค์) สาธารณสุขอำเภอห้วยยอด (นายดำรงค์ แจ้งไข) สาธารณสุขอำเภอวังวิเศษ (นายประทีป ดวงงาม ) สาธารณสุขอำเภอนาโยง (นายบุญธรรม สินฝาด) สาธารณสุขอำเภอรัษฎา (นายชวน สองแก้ว) สาธารณสุขอำเภอหาดสำราญ (นายสรรเสริญ เส้งขาว) 40

41 ผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง (ดร.ขวัญตา บุญวาศ)
(ดร.ขวัญตา บุญวาศ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร ตรัง (นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ) หัวหน้าศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ นำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง (นายจีระวัฒน์ คงฉาง) ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง (ดร.กัลยา อนุลักขณาปกรณ์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จ.ตรัง (นายวรเชษฐ อนันตรังษี) 41

42 นโยบายการดำเนินงาน ด้านสาธารณสุข

43 นโยบายรัฐบาล(คสช.) 5. การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน            5.1 วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพให้มีความครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่มีความเหลื่อมล้ำของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ และบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพ            5.2 พัฒนาระบบบริหารสุขภาพ โดยเน้นการป้องกันโรคมากกว่ารอให้ป่วยแล้วจึงมารักษา สร้างกลไกจัดการสุขภาพในระดับเขตแทนการกระจุกตัวอยู่ที่ส่วนกลาง ปรับระบบการจ้างงาน การกระจายบุคลากรและทรัพยากรสาธารณสุขให้เหมาะสมกับท้องถิ่น            5.3 ประสานการทำงานระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และปัญหาด้านการแพทย์และจริยธรรมของการอุ้มบุญ การปลูกถ่ายอวัยวะและสเต็มเซลล์ โดยจัดให้มีมาตรการและกฎหมายที่รัดกุม

44 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
(ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร) ให้ความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนางานสาธารณสุขตามแนว พระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติเพื่อเทิดพระเกียรติ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้การดูแลสุขภาพคนไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพในทุกระดับและทุกมิติ พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยให้คนไทยมีโอกาสได้ ร่วมคิด ร่วมนำ ร่วมทำ และร่วมรับผิดชอบด้วย เป็นการอภิบาลแบบเครือข่าย เอื้ออำนวยระบบสุขภาพแห่งชาติ เชื่อมประสานทุกภาคส่วนเข้าด้วยกัน

45 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร) 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับทั้งการบริหารการเงินการคลัง การบริหารกำลังคน และการบริหารข้อมูลสุขภาพเพื่อ สนับสนุนการปฏิรูปสาธารณสุขและปฏิรูปประเทศ เพื่อให้พลเมืองไทยมีสุขภาพแข็งแรง 5. ให้ความสำคัญในการพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุขทั้งความรู้ ทักษะ การผลิต การใช้ การสร้างขวัญกำลังใจภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน 6. วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจรและเกิดผลดีต่อเศรษฐกิจไทย

46 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร) 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุข เพื่อประสิทธิผลที่ดีต่อสุขภาวะของประชาชน 8. สนับสนุนกลไกการทำงานสาธารณสุขให้เป็นไปเพื่อส่งเสริมการสร้างความมั่นคงและความผาสุกของสังคมไทยและสังคมโลก

47 เป้าหมายที่สำคัญของ ปี 2559 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
(ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร) ทุกภาคส่วนมีความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการเพื่อสุขภาพของประชาชน บริหารแบบมืออาชีพ มีธรรมาภิบาล เน้นการป้องกันโรคมากกว่ารอให้ป่วยแล้วจึงมารักษา สร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนไทยตลอกช่วงชีวิต ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงวันสุดท้ายแห่งชีวิต ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ โดยฉพาะ Road Traffic Injury โภชนาการปลอดภัย มุ่งเน้นการใช้ภูมิปัญญาไทย การแพทย์แผนไทยในการพัฒนาสุขภาพ มีบทบาทด้านสาธารณสุขที่เข้มแข็งในภูมิภาคและในประชาคมโลก

48 ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการทำงาน ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ซื่อสัตย์ สามัคคี มีความรับผิดชอบ ตรวจสอบได้ โปร่งใส มุ่งในผลสัมฤทธิของงาน กล้าหาญทำในสิ่งที่ถูกต้อง ค่านิยม

49

50 วิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง (Vision)
“ประชาชนสุขภาพดี บริการมีคุณภาพภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง” พันธกิจ (Mission) ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง 1.พัฒนาคุณภาพของการบริหารจัดการ 2.ส่งเสริมการสร้างสุขภาพโดยภาคีเครือข่าย 3.การป้องกันและควบคุมการป่วยและตายที่เป็นปัญหา 4.พัฒนาระบบบริการและคุณภาพบริการ 5.เฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคติดต่อและลดความรุนแรงจากภัยพิบัติ 50

51 เป้าประสงค์ 1. ลดอัตราป่วย/ตาย ด้วยโรคที่เป็นปัญหา
2. ประชาชนได้รับบริการมีคุณภาพ 3. ประชาชนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคและการควบคุมโรคได้มาตรฐาน 4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ 5. การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 51

52 กลยุทธ์ 2 : สร้างเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1 : เพิ่มศักยภาพสถานบริการสาธารณสุข ให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ 3 : ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ และควบคุมป้องกันโรคเพื่อลดอัตราการป่วย/ตายที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ กลยุทธ์ 2 : สร้างเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัย กลยุทธ์ 4 : พัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 5 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ วิชาการ สารสนเทศ และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ให้มีประสิทธิภาพ 52

53 กลยุทธ์การทำงานของจังหวัดตรัง ปี 2559
จัดการระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ ขับเคลื่อน นสค./อสม. ทำงานเชิงรุก เชื่อมโยงกับทีมหมอครอบครัว สร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะ งานอนามัยแม่และเด็ก พัฒนาระบบสุขภาพเชิงพื้นที่ กลไกการแก้ปัญหาโดยความร่วมมือของชุมชน ระบบสุขภาพอำเภอ ระบบสุขภาพตำบล ระบบสุขภาพหมู่บ้าน/ชุมชน พัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ปฐมภูมิ เชื่อมโยงทุติภูมิ&ตทิยภูมิ

54 การพัฒนาระบบสุขภาพ 2016 อสม./นสค. ระบบฐานข้อมูล Service Plan
QC / Service mind Service Plan DHS/THS/VHS FCT อสม./นสค. ระบบฐานข้อมูล

55 คำถาม-คำตอบ นสค.& อสม. เธอรับผิดชอบ ประชาชน กี่คน
มีใครที่ยังไม่ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 10.มีประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ที่ต้องได้รับการดูแล 1.มีหญิงตั้งครรภ์กี่คน เขาควรได้รับการดูแลอย่างไร หญิงตั้งครรภ์มีปัญหาที่ควรได้รับการดูแลอะไรบ้าง มีใครที่มีสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ 9.มีผู้พิการกี่คน มีใครที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ มีใครบ้างที่มีสุขภาพไม่พึงประสงค์ 8.มีผู้สูงอายุกี่คน 2.มีเด็กต่ำกว่า 3 ปี กี่คน เธอรับผิดชอบ ประชาชน กี่คน มีฟันผุกี่คน มีใครยังไม่ได้ตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน มีใครเสี่ยง ต่อการเกิดโรค แทรกซ้อน 7.มีประชากร 30 ปีขึ้นไปกี่คน 3.มีเด็กต่ำกว่า 5 ปี กี่คน มีใครที่มีพัฒนาการบกพร่อง มีใครป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เด็กอ้วนมีกี่คน 4.มีเด็ก 6-12 ปี กี่คน มีใครที่ยังไม่ได้ตรวจ มะเร็งปากมดลูก/เต้านม 6.มีหญิง ปี กี่คน มีฟันผุกี่คน 5.มีหญิง ปี กี่คน มีใครเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 10 คำถามหลัก 15 คำถามรอง ให้บริการเอง มีการบันทึกข้อมูลประชาชน (ข้อมูลบุคคล) ครบถ้วนแล้วหรือยัง มีการบันทึกข้อมูล การได้รับบริการครบถ้วน ไปรับบริการที่อื่น

56 การจัดการข้อมูลและการเข้าถึงประชากรเป้าหมาย กลุ่มงานแม่และเด็ก
การเฝ้าระวังตั้งครรภ์ไม่พร้อม ฝากครรภ์คุณภาพ คลอดปลอดภัย ดูแลหลังคลอด พัฒนาการเด็ก/วัคซีน/สุขภาพช่องปาก

57 การพัฒนาระบบสุขภาพระดับพื้นที่
UCARE ระบบสุขภาพจังหวัด ระบบสุขภาพอำเภอ ระบบสุขภาพตำบล ระบบสุขภาพหมู่บ้าน/ชุมชน NCD CD ENV

58 การจัดการทีมหมอครอบครัว
แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพ (รพ./สสอ.) ได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ / แพทย์สาขาต่างๆ/ ทันตแพทย์ / เภสัชกร / พยาบาลเวชปฎิบัติ / พยาบาลวิชาชีพ / กายภาพบำบัด / นักสังคมสงเคราะห์ / นักสุขภาพจิต ฯลฯ ทีมหมอครอบครัว อำเภอ (1 ทีม : 1 โซน/1 แพทย์) แพทย์ที่ปรึกษา เครือข่ายบริการ ทีมหมอครอบครัว ตำบล (1 ทีม : 1 รพสต.) ทีมหมอครอบครัวชุมชน (1 ทีม : นสค./ชุมชน) ทีม รพ.สต. และสหสาขาอาชีพ ในพื้นที่ ได้แก่ พยาบาล / นวก.สธ. / จพ.สธ. / เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข / ทันตาภิบาล / อปท. / โรงเรียน / วัด / กลุ่มองค์กรในชุมชน ฯลฯ นสค. และทีมสหสาขาอาชีพในชุมชน ได้แก่ อสม. / ผู้นำท้องถิ่น / ผู้นำท้องที่ / จิตอาสา / นักบริบาล / แกนนำครอบครัว กลุ่มหรือชมรมต่างๆ และประชาคม ฯลฯ

59 Service plan ภาคประชาชน/ภาคท้องถิ่น/ภาควิชาการ&ราชการ
Road Map : การบูรณาการงานระบบสุขภาพจังหวัดตรัง ปี Excellent Center สูติ ศัลย ฯ อายุฯ กุมารฯ Excellent Center ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดสมอง Excellent Center ทันตกรรม ระบบบริการปฐมภูมิ มีคุณภาพ Service plan Excellent Center อุบัติเหตุ คลินิก NCD มีคุณภาพ Excellent Center มะเร็ง อำเภอสุขภาวะ สมัชชาสุขภาพ อำเภอ เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHSA+HA+PCA) คลินิกสุขภาพจิต/ยาเสพติดมีคุณภาพ ตำบลสุขภาวะ สร้างทีมงาน/เครือข่าย ศึกษาข้อมูล บริบทชุมชน ประชาสัมพันธ์เข้าร่วม จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น จัดทำแผน จัดกิจกรรมตามแผน ประเมินผล ถอดบทเรียน วัด/มัสยิด/โรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ ระบบสุขภาพตำบล ตรังเมืองแห่ง ความสุข แพทย์แผนไทย ฯ ส้วมสาธารณะ CFGT ระบบสุขภาพหมู่บ้าน/ชุมชน สมัชชาสุขภาพตำบล HL/ ๓ อ ๒ ส หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ภาคประชาชน/ภาคท้องถิ่น/ภาควิชาการ&ราชการ

60 การพัฒนาระบบสุขภาพเชิงระบบ
DHS -เครือข่ายสุขภาพ -ผอ.รพ.สต -ทีมหมอครอบครัว THS VHS -นสค. อสม.เชี่ยวชาญ MCH CD NCD สุขภาพจิต เอดส์

61 โครงสร้างการบูรณาการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ทีมพัฒนา สาธารณสุขระดับ พื้นที่ ทีมพัฒนามาตรฐาน สาธารณสุขในหน่วยงาน/ สถานประกอบการ ทีมพัฒนา บุคลากรและ การจัดการ ทีม ประเมินผล ทีมพัฒนาหน่วย บริการ 1.FCT 2.FR 2.HA/PCA 3.NCD Board 4.MCH Board 5. คลินิกคุณภาพ (NCD/ANC/WCC/LR) 6. Service Plan 1.DHS 2.THS 3.VHS 4.SRRT 5.อำเภอควบคุมโรค 1.รร.ส่งเสริมสุขภาพ 2.วัดส่งเสริมสุขภาพ 3.ตลาดสดน่าซื้อ 4.ศูนย์เด็กเล็ก 4.CFGT 5. GMP 6. HAS 7. แหล่งท่องเที่ยว 1.แผนการประชุม 2.แผนการฝึกอบรม 3.ควบคุมภายใน 4.ทรัพยากรสุขภาพ 1.Data 2.ประเมินผล 3.แผนงานวิจัย ประธาน:…………………… คณะทำงาน เลขา : ผช.เลขา :…………………. ประธาน:…………………… คณะทำงาน เลขา : ผช.เลขา :…………………. ประธาน:…………………… คณะทำงาน เลขา : ผช.เลขา :…………………. ประธาน:…………………… คณะทำงาน เลขา : ผช.เลขา :…………………. ประธาน:……………… คณะทำงาน เลขา : ผช.เลขา :…………….

62 รวมพลังคืนความสุข รุกการพัฒนา เปิดฟ้าอันดามันตรัง
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดูแลตั้งแต่ในครรภ์ - คลอด – เติบโต – สูงอายุ – ป่วย - จนระยะสุดท้ายของชีวิต รุกการพัฒนา แผนพัฒนาบริการ AEC เปิดฟ้าอันดามันตรัง พัฒนางานสาธารณสุขในแหล่งท่องเที่ยว สุขาใน รพ.สต

63 web site : สสจ.ตรัง 63

64 เราจะทำงานอย่างเต็มกำลังและความคิด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวตรัง
ชาวสาธารณสุขตรัง... เราจะทำงานอย่างเต็มกำลังและความคิด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวตรัง

65 สวัสดี

66 Thank You


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google