ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการดูแลสุขภาพนักเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
เพื่อสนองพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2
K : ความเสี่ยงด้าน การดำเนินงาน ที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area)
3
K.1 ความเสี่ยงต่อการไม่เป็น ไปตามหลักสำนึกรับผิดชอบ
มิติประสิทธิผล K.1 ความเสี่ยงต่อการไม่เป็น ไปตามหลักสำนึกรับผิดชอบ
4
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 1.1 3 9 2 4 ค่าความเสี่ยงลดลง ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจาก ผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองเพิ่มมากขึ้นและบรรลุเป้าหมาย
5
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
K 1.2 ผู้บริหารโรงเรียนเห็นว่าการดำเนินกิจกรรมเป็นภาระของโรงเรียนและไม่เห็นความสำคัญของการดำเนินการผลักดันให้โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HPS ระดับทอง ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล กระทบ ดัชนี K 1.2 3 4 12 2 ค่าความเสี่ยงลดลง เนื่องจาก ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสำคัญ/ผลักดันให้โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองเพิ่มมากขึ้น มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดูแลสุขภาพนักเรียน จังหวัดอำนาจเจริญ ตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งประกอบด้วย ส่วนราชการหลายภาคส่วน
6
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 1.3 3 9 มีค่าความเสี่ยงเท่าเดิม ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจาก โรงเรียนมีการจัดทำแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องและตอบสนองต่อนโยบาย เป้าหมาย การสนับสนุนงบประมาณของโรงเรียนและ/หรืองบประมาณจากองค์ปกครองท้องถิ่น ยังได้ไม่ครอบคลุมทุกแห่ง
7
มิติประสิทธิผล K2 : ความเสี่ยงต่อการไม่เป็น ไปตามหลักการมีส่วนร่วม
ของหน่วยรับผิดชอบโครงการ
8
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 2.1 3 9 4 12 มีค่าความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นค่าที่ต้องเฝ้าระวัง เนื่องจาก กระทรวงที่เกี่ยวข้องจัดทำคู่มือสนับสนุนให้ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะคู่มือการดูแลสุขภาพนักเรียนเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนสำหรับโรงเรียน มี สนับสนุน 6 แห่ง ไม่ครอบคลุมทุกแห่ง
9
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 2.2 2 4 8 มีค่าความเสี่ยงเท่าเดิม ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจาก กรมอนามัย จำเป็นต้องสำรวจจำนวนนักเรียน ชั้น ป. 5–6 และ ม.1-6 ของแต่ละจังหวัดในแต่ละปีการศึกษาด้วยว่ามีจำนวนเท่าไร กรมอนามัย ควรจัดทำ/สนับสนุนแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองสำหรับนักเรียนชั้น ป.5-6 และ ม.1-6 ให้แต่ละจังหวัดให้มีเพียงพอ
10
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 2.3 2 4 8 3 9 ค่าความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจาก ยังขาดความร่วมมือในการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากการกระชุมของคณะกรรมการดูแลสุขภาพนักเรียนฯ วันที่ 9 กรกฎาคม 52 พบว่า มีการวางแผนและจัดทำแผนสนับสนุนกระจายยังไม่ครอบคลุมในภาพรวมของจังหวัด และมีนโยบายการวางแผนร่วมกัน เพื่อให้ครอบคลุมนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบทุกโรงเรียน ต่อไป
11
1. Key Risk Area ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5) ผล
กระทบ ดัชนี K 2.4 2 4 8 มีค่าความเสี่ยงลดลง ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจาก มีการประสานความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ มีการสนับสนุนสมุดบันทึกสุขภาพสำหรับนักเรียนครอบคลุมทุกคน ตลอดจนการติดตามการใช้ เพิ่มมากขึ้น
12
ความต้องการที่แท้จริงของประชาชน
N : ความเสี่ยง ด้านการตอบสนอง ความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk)
13
มีส่วนร่วมของประชาชน ผู้รับบริการหรือผู้มี
มิติประสิทธิผล N1 : ความเสี่ยงต่อการ ไม่เป็นไปตามหลักการ มีส่วนร่วมของประชาชน ผู้รับบริการหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย
14
2. Negotiation Risk ประเด็น ความเสี่ยง รอบที่ 2 รอบที่ 3 โอกาส (1-5)
ผล กระทบ ดัชนี N 1.1 3 9 4 12 ค่าดัชนีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นค่าที่ต้องเฝ้าระวัง เนื่องจาก ครูและนักเรียนมีความตระหนักในการดำเนินกิจกรรมการตรวจสุขภาพตนเอง โดยใช้แบบบันทึกสุขภาพด้วยตนเองสำหรับนักเรียนชั้น ป.5-6 และ ม.1-6 ของกรมอนามัย นักเรียนมีความพึงพอใจในการดำเนินกิจกรรมการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง แต่ การนำผลจากข้อมูลจากแบบบันทึกสุขภาพ ไปวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ในการวางแผนการดูแลสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนยังไม่ครอบคลุม
15
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.