งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย
บทที่ 8 การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย

2 ผู้ตรวจการณ์ “ตาของชุดหลักยิง”
หมายถึง ผตน. ผตอ. ผู้ตรวจการณ์ประจำที่ตรวจการณ์ ต่าง ๆ รวมทั้งเครื่องมือ คปม. ทั้งปวง มีหน้าที่ในการ คปม. ให้พบ พิสูจน์ทราบ กำหนดที่ตั้งเป้าหมาย ให้ถูกต้อง และรายงานไปยัง ศอย. ดำเนินการขอยิง ปย. และรายงานผลการยิง ผู้ตรวจการณ์จึงเปรียบเสมือน “ตาของชุดหลักยิง”

3 การกำหนดที่ตั้งเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง ก่อประโยชน์ให้กับฝ่ายเราดังนี้
1. ปลอดภัยต่อฝ่ายเรา 2. ประหยัดกระสุน (ยิงปรับแต่น้อย) 3. ประหยัดเวลา(ยิงหาผลได้เร็ว) 4. เพิ่มพูนผลการยิงให้ทวีขึ้น (เกิดการจู่โจมมากขึ้น )

4 การกำหนดที่ตั้งเป้าหมายของ ผตน.
2 ข้อพึงระลึก การกำหนดที่ตั้งเป้าหมายของ ผตน. 1. กำหนดที่อยู่ของตนให้ถูกต้องมากที่สุด (100 ม.) 2. ใช้ภูมิประเทศเด่น ๆ 3. ศึกษาแผนที่และภูมิประเทศอย่างละเอียดต่อเนื่อง 4. หาจุดหรือตำบลที่เส้นตารางต่าง ๆ ของแผนที่ขีดผ่าน และจดจำไว้ให้ดี 5. เตรียมใช้เครื่องช่วยในการตรวจการณ์ 6. พยายามแสวงหาประโยชน์จากการยิงที่แล้ว ๆ มา

5 วิธีกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย
3 วิธีกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย ผตน. กำหนดที่ตั้งเป้าหมายด้วยวิธีหลัก 3 วิธี 1. พิกัดตาราง ( GRID COORDINATES ) - โดยวิธีการตรวจ - โดยวิธีการกรุยแบบโปล่าร์ 2. โปล่าร์( POLAR COORDINATES ) 3. ย้ายจากจุดทราบที่ตั้ง ( SHIFT FROM A KNOWN POINT )

6 4 การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย ที่จะมีการปรับการยิงจะประกอบด้วย 2 องค์ประกอบใหญ่ ๆ คือ 1. แนวตรวจการณ์ ทิศทางของแนวตรวจการณ์ ที่ ผตน. ใช้ตรวจและปรับการยิง 2. ที่ตั้งของเป้าหมาย ที่อยู่ของเป้าหมายหรือ ตำบลที่จะยิงในแผนที่, กำหนดได้หลายวิธี, มีหลายองค์ประกอบ เพื่อให้ ศอย. สามารถ กำหนดที่ตั้งนั้น ๆ ลงในแผ่นเรขายิงได้

7 แนวตรวจการณ์ 4 แบบ 5 1. มุมภาคผู้ตรวจการณ์ - เป้าหมาย (แนว ตม.)
แนวตรวจการณ์ 4 แบบ 1. มุมภาคผู้ตรวจการณ์ - เป้าหมาย (แนว ตม.) เช่น " มุมภาค " 2. แนวปืน - เป้าหมาย (แนว ปม.) เช่น " ทิศทางแนว ปม. " 3. ทิศหลัก เช่น " ทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ " 4. แนวอ้างอื่น ๆ เช่น " ทิศทางยอดเขา 120 ยอดเขา 200 "

8 1. มุมภาคผู้ตรวจการณ์-เป้าหมาย (แนว ตม.)
5 1. มุมภาคผู้ตรวจการณ์-เป้าหมาย (แนว ตม.) มุมภาค 5010

9 5 มุมภาค 5010 มิลเลียม มุมภาค…มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกา
N มุมภาค 5010 มิลเลียม มุมภาค…มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกา จากทิศเหนือไปยังแนวพิจารณา

10 2. แนวปืน-เป้าหมาย (แนว ปม.)
5 2. แนวปืน-เป้าหมาย (แนว ปม.)

11 หน้าออก หลังตก ขวาใต้ ซ้ายเหนือ
5 3. ทิศหลักทั้ง 8 1600 เหนือ 0,6400 ใต้ 3200 ตก 4800 หน้าออก หลังตก ขวาใต้ ซ้ายเหนือ

12 5 4. แนวอ้างอื่น ๆ 260 280 300

13 องค์ประกอบของการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายแบบนี้ คือ
6 วิธีพิกัดตาราง องค์ประกอบของการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายแบบนี้ คือ 1. พิกัด (อ.-น.) จำนวน 8 หรือ 6 ตำแหน่ง 2. แนวตรวจการณ์ ถ้าเป็นมุมภาคใช้เต็ม 10 มิลเลียม การกำหนดที่ตั้งเป้าหมายวิธีนี้ ผตน. ไม่จำเป็นต้องบอก ความสูงของเป้าหมาย เพราะ ศอย. สามารถหาได้ จากแผนที่ ที่มีอยู่แล้ว พิกัด มุมภาค 2190

14 ผตน. สามารถหาพิกัดเป้าหมายได้ 2 วิธี
7 วิธีพิกัดตาราง ผตน. สามารถหาพิกัดเป้าหมายได้ 2 วิธี การตรวจ การกรุยแบบโปล่าร์

15 7 การกำหนดพิกัดเป้าหมายด้วยการตรวจ ??? ??? ????
บนแผนที่ ??? ??? ???? สิ่งที่ต้องการ…พิกัด…………มุมภาค………

16 การกำหนดพิกัดเป้าหมาย โดยการกรุยแบบโปล่าร์
8 การกำหนดพิกัดเป้าหมาย โดยการกรุยแบบโปล่าร์ วิธีการ 1. หาที่อยู่ของตนเอง 2. วัดมุมภาคไปยังเป้าหมาย 3. ประมาณหรือวัดระยะไปยังเป้าหมาย 4. นำสิ่งที่หาได้ ในข้อ 1, 2 และ 3 ไปกรุยลงบนแผนที่ 5. อ่านพิกัดที่ต้องการ

17 การกำหนดพิกัดเป้าหมายโดยการกรุยแบบโปล่าร์
8 การกำหนดพิกัดเป้าหมายโดยการกรุยแบบโปล่าร์ มุมภาค 1200 ระยะ 3000 1200 สิ่งที่ต้องการ…พิกัด……………มุมภาค………

18 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48

19 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48 มุมภาค 1200

20 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48

21 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48

22 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48 มุมภาค 1200

23 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48 ระยะ 3000 มุมภาค 1200

24 8 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 48 พิกัด

25 การกำหนดพิกัดเป้าหมายโดยการกรุยแบบโปล่าร์
8 การกำหนดพิกัดเป้าหมายโดยการกรุยแบบโปล่าร์ มุมภาค 1200 ระยะ 3000 1200 สิ่งที่ต้องการ…พิกัด……………มุมภาค………

26 วิธีโปล่าร์ 9 วิธีโปล่าร์ คือวิธีแสดงที่ตั้งเป้าหมาย โดยอาศัยระยะ
วิธีโปล่าร์ คือวิธีแสดงที่ตั้งเป้าหมาย โดยอาศัยระยะ และทิศทางจากจุดหลักจุดหนึ่งไปยังเป้าหมาย โดยปกติแล้ว ผตน. อาศัยที่อยู่ของตนเอง หรือที่ตั้งที่ตรวจการณ์ เป็นจุดหลักที่ใช้อ้าง องค์ประกอบ 1. จุดอ้าง 2. มุมภาคหรือทิศทาง 3. ระยะ 4. แตกต่างสูง

27 วิธีการ 10 1. วัดมุมภาคไปยังเป้าหมาย 2. ประมาณหรือวัดระยะไปยังเป้าหมาย
1. วัดมุมภาคไปยังเป้าหมาย 2. ประมาณหรือวัดระยะไปยังเป้าหมาย 3. ประมาณหรือหาความสูงของเป้าหมาย

28 10 0700 3000 45 สิ่งที่ต้องการ……มุมภาค…....ระยะ……สูงขึ้น/ต่ำลง..…..
มุมภาค 0700 ระยะ 3000 สูง 100 - 15 -45 สูง 100 สูตร ผ = ก x ร/1000 = -15 x 3000/1000 = -15 x 3 = -45 0700 3000 45 สิ่งที่ต้องการ……มุมภาค…....ระยะ……สูงขึ้น/ต่ำลง..…..

29 วิธีย้ายจากจุดทราบที่ตั้ง
11 วิธีย้ายจากจุดทราบที่ตั้ง จุดทราบที่ตั้ง คือจุดที่ ผตน. และ ศอย. ทราบที่ตั้งอยู่แล้ว และกรุยลงในแผ่นเรขายิงแล้ว หรืออาจจะกรุยลงได้ง่าย ๆ เช่น จล., ม. ที่เคยยิง

30 องค์ประกอบ 12 1. จุดทราบที่ตั้งที่ใช้อ้าง 2. แนวตรวจการณ์ไปยังเป้าหมาย
1. จุดทราบที่ตั้งที่ใช้อ้าง 2. แนวตรวจการณ์ไปยังเป้าหมาย 3. การย้ายทางข้างหรือทางทิศ จากจุดอ้างไปยังเป้าหมาย 4. การย้ายทางระยะเปรียบเทียบระหว่างจุดอ้าง และเป้าหมาย 5. การย้ายทางสูงหรือแตกต่างสูง เปรียบเทียบระหว่าง จุดอ้างและเป้าหมาย

31 วิธีย้ายจากจุดทราบที่ตั้ง
13 วิธีย้ายจากจุดทราบที่ตั้ง วิธีการ 1. ผตน. กำหนดจุดทราบที่ตั้งที่จะใช้อ้าง 2. หาแนวตรวจการณ์ไปยังเป้าหมาย 3. ประมาณหรือหาระยะไปยังเป้าหมาย 4. หาความสูงของเป้าหมาย 5. นำรายละเอียดในข้อ มาทำการคำนวณ หาการย้ายทางทิศ, การย้ายทางระยะ และการย้ายทางสูง

32 การย้ายทางข้าง (ทางทิศ)
14 การย้ายทางข้าง (ทางทิศ) ผตน.พิจารณามุมทางข้างระหว่างจุดอ้างกับเป้าหมาย ดังนี้.- • กรณีมุมทางข้างน้อยกว่า มิล. ใช้สูตรมิลเลียม ( กฎ กผร ) • กรณีมุมทางข้างมีค่าตั้งแต่ 600 มิลเลียมขึ้นไปให้ผตน.ใช้กฎของไซน์หรือพิจารณาหนดที่ตั้งเป้าหมายด้วยวิธีอื่น ก =

33 การคำนวณการย้ายทางทิศ กรณีมุมทางข้างน้อยกว่า 600m
15 การคำนวณการย้ายทางทิศ กรณีมุมทางข้างน้อยกว่า 600m ม. ก ร เพิ่ม 500 ขวา 200 จล. 2500 2000 หาการย้ายทางระยะ = = 500 = เพิ่ม 500 หาการย้ายทางทิศ สูตร ผ = ก x ร = 100 x 2000 1000 = = ข. 200 100

34 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 สูง 80

35 จท. มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 สูง 80

36 จท. มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 200 สูง 80

37 จท. มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 ย้ายทางข้าง ผ = ก  (ร  1000) = 200  (3000  1000) = 200  3 = 600 (ขวา 600) 200 สูง 80

38 จล. มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ม ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10
ขวา 600 มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 ย้ายทางข้าง ผ = ก  (ร  1000) = 200  (3000  1000) = 200  3 = 600 (ขวา 600) 200 สูง 80

39 ย้ายทางระยะ = ระยะ ตม.  ระยะ ตจท. = 2200  3000 =  800 (ลด 800)
ขวา 600 มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100 มุมภาค 1800 ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 ย้ายทางข้าง ผ = ก  (ร  1000) = 200  (3000  1000) = 200  3 = 600 (ขวา 600) 200 ย้ายทางระยะ = ระยะ ตม.  ระยะ ตจท. =  3000 =  800 (ลด 800) สูง 80

40 จาก จล. มุมภาค 1800 ขวา 600 ลด 800 จท. มุมภาค 1600 ระยะ 3000 สูง 100
ระยะ 2200 มุมดิ่ง - 10 ย้ายทางข้าง ผ = ก  (ร  1000) = 200  (3000  1000) = 200  3 = 600 (ขวา 600) 200 ย้ายทางระยะ = ระยะ ตม.  ระยะ ตจท. =  3000 =  800 (ลด 800) สูง 80 จาก จล. มุมภาค ขวา ลด 800

41 สูง 80 - 10 ระยะ2200

42 ผ = ก  (ร  1000) = ( 10)  (2200  1000) = ( 10)  2.2 =  22 สูง 80 - 10 ระยะ2200

43 หาความสูง ปม. = สูง ต.  ตส. = 80  22 = 58 ผ = ก  (ร  1000) = ( 10)  (2200  1000) = ( 10)  2.2 =  22 สูง 80 - 10 ระยะ2200

44 หาความสูง ปม. = สูง ต.  ตส. = 80  22 = 58 ผ = ก  (ร  1000) = ( 10)  (2200  1000) = ( 10)  2.2 =  22 สูง 80 - 10 ระยะ2200 หา ตส. = ความสูง ม.  ความสูง จล. = 58  100 =  42 (ต่ำลง 40)

45 จาก จล. มุมภาค 1800 ขวา 600 ลด 800 ต่ำลง 40
หาความสูง ปม. = สูง ต.  ตส. = 80  22 = 58 ผ = ก  (ร  1000) = ( 10)  (2200  1000) = ( 10)  2.2 =  22 สูง 80 - 10 ระยะ2200 หา ตส. = ความสูง ม.  ความสูง จท. = 58  100 =  42 (ต่ำลง 40) จาก จล. มุมภาค ขวา 600 ลด ต่ำลง 40

46 จำนวนเต็มมาตรฐาน 16 ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย,ส่งคำขอยิงและปรับการยิง
พิกัด เต็ม , 10 เมตร มุมภาค " มิลเลียม ระยะ " เมตร แตกต่างสูง " เมตร การย้ายทางทิศ " เมตร การย้ายทางระยะ " เมตร การแก้ทางทิศ " เมตร การแก้ทางระยะ " เมตร การแก้ทางสูง " เมตร


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google