งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
ก๊าซชีวภาพแหล่งพลังงานทดแทน การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง

2 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
การเลี้ยงแม่โคให้มีสุขภาพดีเป็นปัจจัยสำคัญต่อการผสมติดของแม่โคในระยะต่าง ๆ ซึ่งก็มีความสำคัญต่างกัน และการดูแลที่แต่ต่างกันไป

3 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
สารบัญ 4 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูกถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด 15 2. การเลี้ยงแม่โคระยะตั้งท้อง 4-6 เดือน 17 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด 21 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) 28 5. การเลี้ยงโคหลังหย่านม 29 6. การเลี้ยงดูโคสาว

4 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
1 การเลี้ยงแม่โคให้มีสุขภาพดีเป็นปัจจัยสำคัญต่อการผสมติดของแม่โคและทำให้แม่โคให้ลูกอย่างสม่ำเสมอ ความต้องการอาหารของแม่โคระยะต่าง ๆ แตกต่างกัน

5 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
2 การจัดการเลี้ยงดูแม่โคสามารถจำแนกออกเป็นระยะต่าง ๆ ตามความต้องการอาหารของโคได้ 3 ระยะดังนี้

6 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
3 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูกถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด 2. การเลี้ยงแม่โคระยะตั้งท้อง 4-6 เดือน 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด

7 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
4 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ระยะนี้เป็นระยะก่อนผสมพันธุ์ เมื่อผสมติดแล้วจะเริ่มตั้งท้องและแม่โคยังผลิตน้ำนมเลี้ยงลูกที่ยังติดแม่อยู่ การให้อาหารมีความสำคัญมากที่สุดสำหรับแม่โคระยะนี้

8 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
5 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด เพราะแม่โคต้องการอาหารสำหรับฟื้นฟูระบบอวัยวะสืบพันธุ์และผลิตน้ำนมสำหรับเลี้ยงลูก

9 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
6 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ระยะจากคลอดลูกถึงผสมพันธุ์ หากแม่โคมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจะทำให้การผสมติดดีขึ้นและลดระยะห่างของการให้ลูกลง แต่การทำให้โคเพิ่มน้ำหนักโดยให้อาหารข้นเสริมต้องเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง การให้อาหาร

10 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
7 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ถ้าให้แม่โคได้กินหญ้าอ่อนในแปลง 3-4 สัปดาห์ก่อนถึงฤดูพันธุ์แม่โคจะเริ่มทำน้ำหนักเพิ่มขึ้นและมีการผสมพันธุ์ดีขึ้น เมื่อแม่โคคลอดแล้วจะกินอาหารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การให้อาหาร

11 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
8 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ซึ่งฤดูฝนจะเน้นให้หญ้า ส่วนปลายฤดูหนาวและฤดูแล้งจะให้หญ้าหมักหรือฟางข้าวพร้อมเสริมด้วยอาหารข้นประมาณ กก./ตัว นอกจากนี้ควรมีแร่ธาตุให้โคเลียกินตลอดปี ซึ่งแร่ธาตุสามารถผสมเองได้ การให้อาหาร

12 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
9 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ซึ่งแร่ธาตุมีประโยชน์สำหรับโคในด้านช่วยส่งเสริมให้โคมีการเจริญเติบโตเป็นไปอย่างปกติ ผสมติดง่าย ให้ลูกที่มีสุขภาพแข็งแรง ให้ลูกสม่ำเสมอทุกปี การให้อาหาร

13 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
10 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด ปกติแม่โคเมื่อคลอดแล้วกลับเป็นสัดอีกภายใน 3 ถึง 50 วันแต่ควรผสมหลัง 60 วัน การผสมภายใน 40 วันหลังคลอดอาจมีปัญหาทำให้เกิดการติดเชื้อจากแบคทีเรีย ควรผสมหลัง 60 วัน การผสมพันธุ์

14 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
11 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด การที่จะให้แม่โคให้ลูกปีละตัวแม่โคจะต้องได้รับการผสมอีกภายใน 80 วัน ถ้าแม่โคผอมจะกลับเป็นสัดช้าลง การผสมพันธุ์

15 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
12 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด การผสมพันธุ์โคพื้นเมืองในปัจจุบันมีอยู่ 2 วิธีคือ 1. การปล่อยให้พ่อพันธุ์คุมฝูง 2. การจูงผสม วิธีการผสมพันธุ์

16 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
13 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด หลังจากแม่โคได้รับการผสมพันธุ์ ผู้เลี้ยงควรจดบันทึกวันที่ผสม แล้วอีกประมาณ 21 วันต่อไปต้องคอยสังเกตดูว่าแม่โคกลับเป็นสัดอีกหรือไม่ การตั้งท้องและการกลับเป็นสัด

17 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
14 1. การเลี้ยงแม่โคจากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือน (120 วัน) หลังคลอด หากกลับเป็นสัดแสดงว่าผสมไม่ติดต้องผสมใหม่ หากไม่กลับเป็นสัดแสดงว่าผสมติดแล้ว แต่อีกทุก ๆ 21 วันต่อไปควรคอยสังเกตอีกเพื่อให้เกิดความมั่นใจมากขึ้น การตั้งท้องและการกลับเป็นสัด

18 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
15 2. การเลี้ยงแม่โคระยะตั้งท้อง 4-6 เดือน เป็นระยะที่ลูกโคโตแล้วและเตรียมตัวหย่านม หากลูกโคกินหญ้าและอาหารได้เก่งแล้วแม่โคก็ต้องการอาหารเพียงเพื่อบำรุงร่างกายเท่านั้น

19 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
16 2. การเลี้ยงแม่โคระยะตั้งท้อง 4-6 เดือน ระย่ะนี้ความต้องการอาหารเพื่อเลี้ยงลูกในท้องยังน้อยอยู่ แม่โคจึงต้องการอาหารน้อยกว่าระยะอื่น สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงโดยให้อาหารคุณภาพต่ำได้

20 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
17 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด เป็นระยะที่สำคัญอีกระยะหนึ่งของแม่โคเพราะเป็นระยะที่ลูกในท้องเจริญเติบโตถึง % และแม่โคเตรียมตัวให้นมด้วย ถ้าให้อาหารคุณภาพไม่ดีแม่โคจะสูญเสียน้ำหนัก

21 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
18 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด ซึ่งจะทำให้การกลับเป็นสัดหลังคลอดช้าลง มีผลทำให้ไม่ได้ลูกปีละตัว ระยะนี้ควรให้แม่โคมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยน้ำหนักที่จะสูญเสียเมื่อคลอด โดยเฉพาะโคสาวเป็นสิ่งจำเป็นมาก

22 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
19 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด แม่โคส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องช่วยในการคลอด ควรอยู่ห่างๆไม่ควรรบกวนแม่โค แม่โคควรคลอดลูกออกมาภายใน2 ชั่วโมงหลังจากที่ถุงน้ำคร่ำปรากฏออกมา

23 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
20 3. การเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน (3 เดือน) ก่อนคลอด หากช้ากว่านี้ควรให้การช่วยเหลือ หากไม่คลอดภายใน 4 ชั่วโมงลูกจะตาย หลังจากคลอดลูก 8 ถึง 12 ชั่วโมงถ้ารกยังไม่หลุดออกมาแสดงว่ารกค้าง ต้องให้สัตว์แพทย์มาล้วงออกและรักษาต่อไป

24 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
21 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) คอยดูให้ลูกโคได้กินน้ำนมแม่ให้เร็วที่สุดเพราะนมโคระยะแรกที่เรียกว่านมน้ำเหลืองจะมีคุณคาทางอาหารสูงและมีภูมิคุ้มกันโรคจากแม่ถ่ายทอดมาสู่ลูก การจัดการเลี้ยงดู

25 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
22 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) ไม่ควรปล่อยแม่และลูกโคไปตามฝูงควรจัดหาอาหารและน้ำดื่มกักไว้แยกต่างหากจากฝูงจนกว่าลูกโคจะแข็งแรงดีแล้วจึงปล่อยตามฝูง การจัดการเลี้ยงดู

26 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
23 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) ลูกโคจะเริ่มหัดกินหญ้าและอาหาร เมื่ออายุประมาณ 2 ถึง 3 เดือน ลูกโคอายุต่ำกว่า 3 เดือนให้กินอาหารได้เต็มที่ ที่ให้อาหารลูกโคควรอยู่ใกล้กับบริเวณคอกแม่โคอยู่เพื่อที่ลูกโคจะได้เข้าไปลองกินอาหารได้สะดวก การให้อาหาร

27 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
24 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) การทำลายเขาโคยิ่งทำเมื่ออายุน้อยเท่าใดก็ยิ่งดี เพราะจะลดความเจ็บปวดการบาดแผดที่เกิดขึ้น การจับยึดก็ทำได้ง่าย การทำลายเขาโค

28 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
25 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) ลูกโคตัวผู้ที่ไม่ต้องการใช้หรือขายทำพันธุ์ หรือเพื่อใช้ทำงาน ควรตอนเมื่ออายุประมาณ 5 ถึง 6 เดือน โคตัวผู้ที่ต้องการใช้ทำงานควรตอนเมื่ออายุประมาณ 3 ถึง 4 ปี การตอนโค

29 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
26 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) ก่อนหย่านมควรให้ลูกโคได้มีโอกาสกินหญ้าในแปลงที่มีคุณภาพดี ในขณะที่แม่โคได้กินหญ้าคุณภาพต่ำกว่า แต่ลูกโคสามารถมาหาแม่ได้ตามที่ต้องการ การหย่านมลูกโค

30 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
27 4. การเลี้ยงลูกโคเล็ก (จากแรกเกิดถึงหย่านม) เมื่อหย่านมควรแน่ใจว่ามีอาหารให้ลูกโคกินอย่างเพียงพอ ถ้ายังไม่พร้อมก็ยังไม่ควรหย่านม ระยะหย่านมและหลังหย่านมควรมีอาหารคุณภาพดีให้ลูกโคกินอย่างเพียงพอ การหย่านมลูกโค

31 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
28 5. การเลี้ยงโคหลังหย่านม การจัดการหลังหย่านม คัดลูกโคที่สามารถใช้ทำพันธุ์ได้ เก็บไว้เพื่อเลี้ยงไว้เป็นพ่อพันธุ์หรือขายทำ พันธุ์

32 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
29 6. การเลี้ยงดูโคสาว โคสาว หมายถึง โคเพศเมียที่มีอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จนมีอายุประมาณ 18 เดือน การที่จะให้แม่โคสาวให้ลูกที่อายุ 2 ปี

33 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
30 6. การเลี้ยงดูโคสาว แม่โคจะต้องพร้อมที่จะผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 13 ถึง 16 เดือน แต่ควรคำนึงถึงน้ำหนักเมื่อผสมมากกว่าซึ่งควรตั้งเป้าหมายให้ผสมพันธุ์ที่น้ำหนักประมาณ กก.

34 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
31 6. การเลี้ยงดูโคสาว คัดโคสาวที่มีลักษณะขาและเท้าไม่ดีออก ปล่อยให้โคเดินอย่างอิสระตรวจดูเท้าและกีบว่ามีขนาดเท่ากันหรือไม่ นอกจากนั้นควรดูตา ปาก และเต้านมด้วย การคัดโคสาวเข้าผสมพันธุ์

35 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
32 6. การเลี้ยงดูโคสาว โคที่ตื่นง่ายหรือไม่เชื่องควรคัดออกเพราะจะสร้างปัญหาในการเลี้ยงดูและสามารถถ่ายทอดไปยังลูกได้ การคัดโคสาวเข้าผสมพันธุ์

36 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
33 6. การเลี้ยงดูโคสาว ก่อนผสมพันธุ์ควรชั่งน้ำหนัก ตัวที่มีน้ำหนักไม่ถึงเป้าหมายควรคัดออกโคน้ำหนักน้อยมีโอกาสผสมติดอยาก หรือหากตั้งท้องอาจมีปัญหาการคลอดยากให้นมน้อย และอาจกลับเป็นสัดช้า การคัดโคสาวเข้าผสมพันธุ์

37 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
34 6. การเลี้ยงดูโคสาว การเลี้ยงโคสาวรวมกับแม่โคที่เคยให้ลูกมาแล้วโคสาวจะเสียเปรียบเพราะถูกข่ม ทำให้กินอาหารได้น้อยกว่า การคัดโคสาวเข้าผสมพันธุ์

38 การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง
35 6. การเลี้ยงดูโคสาว ทั้งๆที่โคสาวต้องการอาหารมากกว่าเพื่อการเติบโต และโคสาวเมื่อเป็นสัดจะถูกข่มไม่ให้แสดงอาการเป็นสัดออกมาชัดเจน การคัดโคสาวเข้าผสมพันธุ์

39


ดาวน์โหลด ppt การเลี้ยงดูโคพื้นเมือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google