ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAurélien Charles ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ 12 11 ธันวาคม 2561
Integrity and Transparency Assessment : ITA Public Sector Management Quality Award :PMQA
2
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในกาดำเนินงาน
ของหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพที่ 12 Integrity and Transparency Assessment : ITA
3
KPI 44 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
หลักการประเมินตนเอง Self-Assessment ข้อเท็จจริงที่สามารถ ตรวจสอบได้จากเอกสารหลักฐาน เชิงประจักษ์ตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence-based Integrity And Transpanrency Assessment : EBIT จำนวน 26 ข้อ EB1 – EB 26 เป็นกลไกการขับเคลื่อนการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลเพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานและให้การบริหารราชการของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 ให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลตามหลักธรรมาภิบาล
4
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561
5
คะแนนการประเมิน ITA เฉลี่ยรายจังหวัด เขต 12 ปีงบประมาณ เป้าหมาย 162 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 146 แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 16 แห่ง หน่วยงานที่คะแนนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90) 13 แห่ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส สสอ.เจาะไอร้อง สสอ.บาเจาะ สสอ.จะแนะ สสอ.เมือง-สสอ.ยี่งอ สสอ.ระแงะ สสอ.รือเสาะ สสอ.ศรีสาคร สสอ.สุคิริน โรงพยาบาลจะแนะ โรงพยาบาลรือเสาะ โรงพยาบาลแว้ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา สสอ. คลองหอยโข่ง หน่วยงานที่มีคะแนนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90)และต่ำกว่า ร้อยละ 50 จำนวน 3 แห่ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส โรงพยาบาลสุคิริน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ , โรงพยาบาลรัตภูมิ
6
ประเด็นปัญหาที่ส่งผลให้หน่วยงานมีผลคะแนนต่ำกว่าเป้าหมาย
ไม่ดำเนินการตามกรอบแนวคิดการประเมิน ITA ในประเด็น ดังต่อไปนี้ 1.ดัชนีความโปร่งใส -ไม่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมตรวจสอบ 2.ดัชนีคุณธรรมในองค์กร ประเด็น - ไม่การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ไม่เผยแพร่คู่มือการปฏิบัติงาน - การไม่ปฏิบัติตามคู่มือและการให้บริการที่ไม่เป็นธรรม - การจัดการเรื่องร้องเรียน 3. ดัชนีวัฒนธรรมและคุณธรรมในองค์กร - การจัดการเรื่องป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน - การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - การรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบการบริหารงานของหน่วยงาน 4. ไม่ดำเนินการและไม่ส่งเอกสารหลักฐานเพื่อรับการประเมิน
7
ปัญหา/จุดร่วมที่สะท้อนปัญหาความเสี่ยงต่อความไม่สำเร็จ
การกำกับติดตาม ITA ที่ไม่ต่อเนื่อง เจ้าภาพหลักของหน่วยงานดำเนินงานโดยลำพัง ขาดความร่วมมือของคนในองค์กร ไม่เข้าใจแนวทางการประเมิน ITA ระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ Internet ยังไม่รองรับและครอบคลุมทุกหน่วยงานเนื่องจากระบบสารสนเทศเป็นส่วนสำคัญในการประเมิน ITA ที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูล ตรวจสอบได้ และการเข้าถึงข้อมูลของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียของหน่วยงาน
8
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ผู้บริหารต้อง กํากับ ติดตาม เสริมแรง กระตุ้น หนุนเสริม จะเป็นพลังในการขับเคลื่อนการประเมิน ITA กําหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบหรือเจ้าภาพหลักเป็นลายลักษณ์อักษร นำข้อกำหนดของเกณฑ์การประเมิน ITA เป็นกระบวนการปฏิบัติงานสู่งานประจำ จังหวัดต้องพัฒนาเครือข่ายทีมพี่เลี้ยง ITA(Coach) ในการให้คําปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานสู่งานประจํา สนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามโมเดลประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยังยืน (Thailand 4.0) และ การเปิดเผยข่อมูลภาครัฐ (Open Government Data)
9
ปฏิทินการประเมิน ITA ของสานักงานเขตสุขภาพที่ 12ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
วัน เดือน ปี แผนการดำเนินงาน หมายเหตุ 26 ธันวาคม 2561 ไตรมาสที่ 1 Small Success ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ EBIT ข้อ EB 1-EB 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 EB1 - EB 2 - EB3-4 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ.ภายในวันที่ 3 มกราคม 2562 สถานที่ ห้องประชุมสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 25 มีนาคม 2562 ไตรมาสที่ 2 ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ ภายในวันที่ 3 เมษายน 2562 25 มิถุนายน 2562 ไตรมาสที่ 3 ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ. ภายในวันที่ 3 กรกฎาคม 2562 26 สิงหาคม 2562 ไตรมาสที่ 24ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ. ภายในวันที่ 3 กันยายน 2562
10
แนวทางการขับเคลื่อน PMQA ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 12
11
Road Map การพัฒนา PMQA สสจ/สสอ. ปี 2562
กพร.สป จัดประชุมชี้แจงแนวทางแก่ผู้รับผิดชอบ จังหวัดละ 5 คน กพร.สป จัดประชุมพัฒนาผู้ประเมินระดับจังหวัด จังหวัดละ 1 คน นิเทศงาน จังหวัด รอบที่ 1 สป สธ.จัดประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้PMQA 2 มค 62 2 เมย 62 2 กค กย 62 มิย-สค 62 พย.-ธค 61 29-30 ตค.61 17-18 ธค 61 มค-มีค 62 สค 62 สสจ./สสอ. ประเมิน และทำแผนการพัฒนา PMQA 4 หมวด ปี 62 (2&4) Maintain ปี 61 (1&5) สสจ./สสอ. รายงาน ทุกไตรมาส กพร.สป แต่งตั้ง ผู้นิเทศงาน เขตสุขภาพ นิเทศงาน จังหวัด รอบที่ 2
12
แนวทางการขับเคลื่อนในเขตสุขภาพที่ 12
ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดที่ผ่านการอบรม เป็นแกนนำในการประเมินผลและจัดทำแผนการพัฒนา PMQA ของ สสจ./สสอ. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่าน กลุ่ม Line PMQA จังหวัด/เขต ขอความเห็นชอบแผนการพัฒนา PMQA จากกรรมการบริหารของหน่วยงาน และลงนามอนุมัติโดย ท่าน นพ.สสจ./สสอ. ติดตามความก้าวหน้าโดย การตรวจราชการนิเทศงาน 2 รอบ (ผู้รับผิดชอบงาน PMQA ของ สสจ/สสอ/ผู้นิเทศงานของเขต ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย นำเสนอรายงาน ของ สสจ. และจับฉลากนำเสนอ รายงานของ สสอ. 1 แห่ง ) นำเสนอความก้าวหน้าในการประชุมกรรมการบริหารเขต ไตรมาสละ 1 ครั้ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.