ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก
2
การพัฒนาระบบบริการงานผู้ป่วยนอก จากเสียงสะท้อนของผู้รับบริการ
ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวศรีทวน วิบูลย์มา 2. นางประทุมทอง เกษสระ 3. นางบุญกาย มูลรัตน์ 4. นางวัลย์ลิกา กิ่งวิชิต
3
วัตถุประสงค์ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการต่อระบบริการงานผู้ป่วยนอก เพื่อนำข้อคิดเห็นของผู้รับบริการมาวิเคราะห์ และวางแผนปรับปรุงพัฒนาระบบบริการ
4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับข้อมูลในด้านระบบบริการจากผู้รับบริการในมุมมองต่างๆที่สามารถนำมาวิเคราะห์และ วางแผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริการงานผู้ป่วยนอก ได้ตรงประเด็นกับความต้องการของผู้รับบริการซึ่งสามารถสอดรับกับความพึงพอใจของผู้รับบริการได้ 2. มีข้อมูลในด้านระบบบริการ นำเสนอต่อผู้บริหารโรงพยาบาลลำพูน ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้รับบริการ ของห้องตรวจอายุรกรรม กุมารเวชกรรม และห้องตรวจศัลยกรรม หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำพูนที่มารับบริการในเดือน กรกฏาคม2553 จำนวน 20 ราย ช่วงเวลา น. เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ( Descriptive Study)
5
สถานที่ ห้องตรวจอายุรกรรม ห้องตรวจกุมารเวช และห้องตรวจศัลยกรรม ตึกผู้ป่วยนอก กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยที่มารับบริการตึกผู้ป่วยนอก ห้องตรวจอายุรกรรม ห้องตรวจกุมารเวช และห้องตรวจศัลยกรรม ในเดือน กรกฏาคม จำนวน 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม คำถามปลายเปิด ให้แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ วิธีการเก็บข้อมูล โดยให้ผู้บริการตอบแบบสอบถาม ให้แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะมีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการเก็บข้อมูล ตรวจสอบความสมบรูณ์ของการตอบคำถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ แล้วนำมาวิเคราะห์
6
ผลการศึกษา การรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยและผู้ช่วยเก็บข้อมูลเข้าไปแนะนำตัวชี้วัดชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสำรวจและการตอบแบบสอบถามกับผู้ใช้บริการในขณะที่ผู้ใช้บริการรอรับยากลับบ้านสรุปได้ดังนี้ ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำพูน จากการรวมรวมพบว่าประเภท ผู้ใช้บริการ ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วย ร้อยละ 50 เป็นญาติร้อยละ 50 อายุส่วนมากอยู่ในกลุ่มอายุ ระหว่าง ปี ร้อยละ 40 และร้อยละ30 ในกลุ่มอายุ ปี และมากกว่า 60 ปีตามลำดับ อาชีพหลักส่วน มากประกอบอาชีพ ทำสวนเกษตรกร ร้อยละ 50 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 25 เป็นลูกจ้าง ค้าขาย ร้อยละ 15 แม่บ้านรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 10 ตามลำดับ รายได้ส่วนใหญ่ไม่แน่นอน ร้อยละ 40 รายได้ต่อเดือน ร้อยละ 20 ต่ำกว่า 5,000 บาท และ10,001-20,000 บาท ร้อยละ 15 รายได้อยู่ระหว่าง 5,000-10,000 บาท และการใช้บริการส่วนมากเคยมาใช้บริการ มากกว่า 1-3 ครั้ง ร้อยละ 50 และร้อยละ 48 เคยมาใช้บริการ 3-10ครั้ง
7
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ
จำนวน ร้อยละ ผู้ป่วย ญาติ 10 50 เพศ ชาย หญิง อายุ 20-40 ปี 40-60 ปี มากกว่า 60ปี 8 12 6 40 60 30 แสดงเป็นตาราง ผลการศึกษา
8
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ
จำนวน ร้อยละ ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท อาชีพหลัก พนักงานของรัฐ/ข้าราชการ ลูกจ้าง/ค้าขาย ทำสวน/เกษตรกร 10 5 4 1 3 2 50 25 20 15
9
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ
จำนวน ร้อยละ อาชีพ ข้าราชการ เกษตร/ทำสวน ค้าขาย อื่น ๆ รายได้/เดือน ไม่เกิน 5,000 บาท 5,000-10,000 บาท 10,001-20,000 บาท มากกว่า 20,000 บาท รายได้ไม่แน่นอน 5 10 3 2 4 1 8 25 50 15 20 40
10
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ
จำนวน ร้อยละ จำนวนครั้งที่มารับบริการ 1 ครั้ง มากกว่า1 - 3ครั้ง 3-10ครั้ง 1 10 9 2 50 48
11
ผลการศึกษาด้านบริการ
การบริการ ความรวดเร็ว พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ ระบบ/ขั้นตอนบริการ จำนวน 11 9 15 5 ร้อยละ 55 45 75 25 Coments *เทียบกับบริการเดิมเป็นระบบ และรวดเร็วขึ้น ชอบระบบจัดคิว *รอนาน บัตรช้า ศูนย์เปลช้า ผลเลือดออกช้า รอค้นบัตรนาน *เป็นระบบแบ่งเป็นสัดส่วน เข้าใจง่าย *มีการแซงคิว ดึงบัตรคิวทิ้ง ไม้ได้ให้ข้อมูล เหตุผลการเปลี่ยนห้องตรวจ อำนวยความสะดวกให้คนรู้จัก
12
ผลการศึกษาด้านบริการ
การบริการ สิ่งอำนวยความสะดวก พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ พฤติกรรมริการ จำนวน 12 8 17 3 ร้อยละ 60 40 85 15 Coments (ไม่มีข้อคิดเห็น) *เก้าอี้นั่งรอตรวจน้อย ที่จอดรถไม่เพียงพอ น้ำดื่มไม่พอ ปรับปรุง เรื่องการระบายอากาศ *ให้คำแนะนำดี *พูดจาไม่ไพเราะ น้ำเสียงห้วน
13
จบคะ ขอบคุณคะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.