งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
เทคนิคการใช้เครื่องมือ DPSIR/PSR ในการวิเคราะห์สถานการณ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และการจัดทำนโยบายและแผน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระดับจังหวัด อ. ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นริศรา ก้องเจริญกิจ PEMSEA Network of ICM Learning Center ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 กิจกรรมวันที่ 28 มิ.ย. 2559 วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
ปัญหาชายฝั่ง และทะเลไทย นิยามเบื้องต้นของ DPSIR ระบุพื้นที่รับผิดชอบ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย พื้นที่รับผิดชอบหลัก และพื้นที่รอง ทรัพยากรตามมาตรา 3 ในพื้นที่ ภารกิจตามนโยบายเร่งด่วน สถานการณ์เร่งด่วน ที่ต้องใช้มาตรา 17 และ 22 ระบุ State และ Pressure

3 กิจกรรมวันที่ 29 มิ.ย. 2559 วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
ทำความเข้าใจ Driver และข้อจำกัด ระบุ Responses (การบริหารจัดการ) Management plan Governance

4 .... การบ้าน ... กิจกรรมวันที่ 30 มิ.ย. 2559
การจัดทำรายงานสถานการณ์จังหวัด องค์ประกอบ รูปแบบ และข้อมูล แหล่งข้อมูล กรอบเวลา และเป้าหมาย .... การบ้าน ...

5 รายงานสถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด
สถานภาพทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หรือ สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สถานการณ์ชายฝั่ง หรือ สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

6 หลักการ DPSIR (เบื้องต้น)
Driver แรงขับเคลื่อน ที่มักจะมีพลังมาก (นโยบายชาติ โลกาภิวัตน์ ค่านิยม ความเชื่อของสังคม ฯลฯ) Pressure สาเหตุที่ส่งกระทบต่อสถานการณ์ (กิจกรรม) State (สภาวะ) สถานการณ์ที่เราสนใจ อยู่ในขอบเขตอำนาจหน้าที่ Impact ผลกระทบ Responses การตอบสนอง หรือการจัดการ แผนงาน โครงการ กิจกรรม องค์กร และกลไกการทำงาน (กฎหมาย งบประมาณ บุคลากร ประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วม การตรวจสอบ ความโปร่งใส ฯลฯ)

7 แรงขับเคลื่อน การดำเนินการ กิจกรรมที่ส่งผลต่อทรัพยากร ผลกระทบ สถานภาพทรัพยากร

8 Satumanatpan S and Juntarashote K. 2009
Satumanatpan S and Juntarashote K Performance Assessment on Coastal Management of Bangpakong River Mouth Using Pressure-State-Response Framework. Thai Fisheries Gazette, Vol. 62:

9 เริ่มต้นทำ DPSIR อย่างไร
9 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด เริ่มต้นทำ DPSIR อย่างไร ระบุ STATE สภาวะของทรัพยากร ที่อยู่ในขอบเขตอำนาจหน้าที่

10 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของ ทช. คือ อะไร
ชายฝั่ง ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของ ทช. คือ อะไร Normally the coastal zone in Thailand have been focus on the shallow sea and the narrow strip from the shorelines. For example the Department of Marine and Coastal Resources will focus on the mangrove forest DMCR duty cover only on blue frame Indeed the coastal areas are extended to the whole water shade area. พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558

11 ภารกิจของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

12

13 ชายฝั่ง คณะรัฐมนตรี 9 คณะกรรมการนโยบายทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 15 คณะกรรมการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด 13 ชุมชนชายฝั่ง 16 17 18 อนุกรรมการ/คณะทำงาน รายประเด็นปัญหา 19 Normally the coastal zone in Thailand have been focus on the shallow sea and the narrow strip from the shorelines. For example the Department of Marine and Coastal Resources will focus on the mangrove forest DMCR duty cover only on blue frame Indeed the coastal areas are extended to the whole water shade area. พื้นที่ปฏิบัติการหลัก ของกรม ทช. 21 22 20 ทะเล พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558

14

15

16 16 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด การวิเคราะห์สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่งของประเทศไทย บนหลักการบริหารจัดการที่มีระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งเป็นศูนย์กลาง (Marine and Coastal Ecosystem Base Management) DPSIR Framework (Driver - Pressure - State - Impact - Responses)

17 กิจกรรมที่ 1 ขอบเขตอำนาจ หน้าที่
พื้นที่รับผิดชอบ และขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย พื้นที่อนุรักษ์ ตามมาตรา 3 อยู่ที่ไหนบ้าง ทรัพยากรตามมาตรา 3 ในพื้นที่รับผิดชอบ อยู่ที่ไหนบ้าง (ดำ) ทรัพยากรตามมาตรา 3 ในพื้นที่อนุรักษ์ อยู่ที่ไหนบ้าง (น้ำเงิน) ภารกิจตามนโยบายเร่งด่วน (กระดาษ post it) สถานการณ์เร่งด่วน ที่ต้องใช้มาตรา 17 และ 21 และ22 (กระดาษ post it) พื้นที่ เหมาะสมกับการใช้มาตรา 18 20 พื้นที่กันชน (การทำงานกับชุมชน) ตำบลชายฝั่ง สีเขียว ขอบเขตพื้นที่ชายฝั่ง (สีเขียว เส้นประ)

18 สรุป สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (State)
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่มีอะไรบ้าง (จะรายงานสถานการณ์เรื่องอะไรบ้าง??) ข้อมูลสถานภาพทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตามมาตรา 3 ข้อมูลย้อนหลัง ปัจจุบัน และแนวโน้ม หน่วยงานที่มีข้อมูล ความถี่ของการเก็บข้อมูล หน่วยของการวัด (พื้นที่ปกคลุม สถานภาพ diversity ฯลฯ

19 Pressure (ภาวะกดดัน) กิจกรรมที่ 2 สาเหตุของปัญหา คือ อะไร
19 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด กิจกรรมที่ 2 Pressure (ภาวะกดดัน) สาเหตุของปัญหา คือ อะไร ปะการังตายด้วยสาเหตุใด?? (ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตามมาตรา 3 เสื่อมโทรมเพราะสาเหตุใด)

20 ผลของปัญหา ถ้าปัญหายังคงอยู่จะเกิดอะไรขึ้น ใครได้รับผลกระทบ Impact State ปัญหา การลดลงของทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพ (แนวปะการัง ชายหาด ป่าชายเลน ฯลฯ) Pressure สาเหตุของปัญหา คืออะไร แสดงลำดับขั้นที่มา และปลายรากของปัญหา ใครเป็นผู้สร้างปัญหา

21 การวางแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งด้วยหลัก อริยสัจ 4
21 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด การวางแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งด้วยหลัก อริยสัจ 4 ทุกข์ สภาพที่พบ สภาพที่ทนได้ยาก สมุทัย เหตุของปัญหา นิโรธ แนวทางการแก้ปัญหา มรรค วิธีการแก้ปัญหา สถานภาพทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เหตุที่ปรากฏ เหตุที่ซ้อนเร้น หลักการ วิสัยน์ทัศน์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ แผนจัดการองค์กร งบประมาณ กฎ กติกา

22 Pressure (ภาวะกดดัน) สมุทัย สาเหตุของปัญหา คือ อะไร
ปะการังตายด้วยสาเหตุใด?? ป่าชายเลนหายไปด้วยสาเหตุใด การกัดเซาะชายฝั่ง เกิดจากสาเหตุใด (ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตามมาตรา 3 เสื่อมโทรมเพราะสาเหตุใด)

23 ชายฝั่ง Pressure Normally the coastal zone in Thailand have been focus on the shallow sea and the narrow strip from the shorelines. For example the Department of Marine and Coastal Resources will focus on the mangrove forest DMCR duty cover only on blue frame Indeed the coastal areas are extended to the whole water shade area. พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558

24 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด
24 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด ครอบครัว คุณภาพชีวิต วิถีชีวิต สังคม เศรษฐกิจ ชุมชน ชาวประมงมีรายได้ลดลง ชาวบ้าน ผู้ประกอบการมีรายได้จากการท่องเที่ยวลดลง กัดเซาะชายฝั่ง สัตว์น้ำลดลง นักท่องเที่ยวไม่มา สูญเสียนิเวศบริการ Impact State ปะการังเสื่อมโทรม Pressure โรค อุณหภูมิน้ำ ท่าเรือ / ขุดร่องน้ำ นักท่องเที่ยวเหยียบ+ฟิน เรือปล่อยน้ำทิ้ง สิ่งก่อสร้าง รุกล้ำทะเล สมอเรือ ร้านอาหาร รีสอร์ท ชุมชนปล่อยน้ำทิ้ง ประมง เก็บ / ขาย น้ำจืด/ระบายน้ำ นทท. ให้อาหารปลา ไกด์ทำ ไม่ดูแล/ไม่รู้ อวนคลุมปะการัง การแล่นเรือ ตะกอน ขยะ

25 ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
25 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น ภูเขาน้ำแข็ง ข้อมูล ความสัมพันธ์ ค่านิยม ผลประโยชน์ โครงสร้าง ปัญหาซ่อนเร้น

26 Impact สภาวะของทรัพยากร ที่เพิ่มขึ้น หรือลดลง ส่งผลกระทบต่อไรบ้าง คน
สังคม ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ นิเวศบริการ คุณภาพสิ่งแวดล้อม การปกป้องชายฝั่ง ฯลฯ

27 Responses แรงขับเคลื่อน การดำเนินการ กิจกรรมที่ส่งผลต่อทรัพยากร ผลกระทบ สถานภาพทรัพยากร

28

29 สรุปรายงานสถานการณ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 24 จังหวัดชายฝั่งทะเล 2559
สิงหาคม 2560

30 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด
30 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด

31 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด
31 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด

32

33

34 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด
34 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด ทบทวนรายงาน สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด Pressure State Responses พื้นที่เป้าหมาย

35 โครงสร้างรายงาน แต่ละพื้นที่ มีสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
35 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด โครงสร้างรายงาน แต่ละพื้นที่ มีสถานการณ์ที่แตกต่างกัน พื้นที่เป้าหมายของสำนักฯ ในอุทยานฯ และนอกอุทยานแห่งชาติ ปัญหา และแนวทางแก้ไข ในแต่ละพื้นที่

36 โครงสร้างรายงานสถานการณ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด
36 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด โครงสร้างรายงานสถานการณ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด ตัวอย่าง รูปแบบการเขียนรายงาน

37 การจัดทำนโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด
37 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด การนำไปใช้ การจัดทำนโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัด

38 กำหนดหลักการ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
1. ระบุความจำเป็น และขอบเขตอำนาจหน้าที่ 2. การจัดหาแหล่งงบประมาณสนับสนุน 4. การจัดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย MSP framework สีฟ้า หมายถึง ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. จัดระเบียบกระบวนการผ่านการวางแผนล่วงหน้า จัดตั้งคณะทำงานและจัดทำแผนการทำงาน กำหนดขอบเขตของงาน และกรอบเวลา กำหนดหลักการ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 10. ปรับกระบวน การวางแผนเชิงพื้นที่ทะเล 5. ประมวล และวิเคราะห์สภาวะปัจจุบัน จัดทำแผนที่การใช้ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระบุความขัดแย้งและความสอดคล้องเชิงพื้นที่ จัดทำแผนที่ทรัพยากร และระบบนิเวศ 9. ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน 6. ประมวล และวิเคราะห์สภาวะในอนาคต ทำแผนที่ความต้องการใช้พื้นที่ในอนาคต ระบุความเป็นไปได้ในการพื้นที่ในอนาคต เลือกแนวทางการใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่ในอนาคตที่ต้องการ 7. จัดเตรียมและเห็นชอบแผนบริหารจัดการพื้นที่ เห็นชอบแผนบริหารจัดการเชิงพื้นที่ จัดทำ และประเมินแผนบริหารจัดการเชิงพื้นที่ ระบุแนวทางการจัดการเชิงพื้นที่ที่เป็นไปได้ 8. ปฏิบัติ และบังคับใช้แผนบริหารจัดการเชิงพื้นที่

39 ICRM จัดการอะไร ? ระบบ ธรรมชาติ ICRM กิจกรรม ของมนุษย์
ธรรมชาติ: ทุกสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับมนุษย์ (ทรัพยากรธรรมชาติ ดำรงอยู่ได้โดยไม่ต้องพึ่งพามนุษย์). กิจกรรมของมนุษย์ ( การใช้ประโยชน์): ความต้องการของมนุษย์ ที่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และพื้นที่ธรรมชาติ กลไกทางกฎหมาย การจัดการองค์กร และเทคนิค: – การจัดกระบวนการบริหารจัดการ เครื่องมือ อุปกรณ์ บุคลากร กฎระเบียบ เพื่อบริหารจัดการการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งรวมถึงกลไกการบริหารจัดการเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์กลุ่มต่างๆ และผลกระทบต่อธรรมชาติ ธรรมชาติ กิจกรรม ของมนุษย์ กลไกทางกฎหมาย การจัดการองค์กร และเทคนิค ICRM ICRM มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทำความเข้าใจ บริหารจัดการ และติดตามสถานการณ์ กระบวนการต่างๆ ระหว่าง 3 ระบบ นี้

40 การวางแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งด้วยหลัก อริยสัจ 4
40 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด การวางแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งด้วยหลัก อริยสัจ 4 ทุกข์ สภาพที่พบ สภาพที่ทนได้ยาก สมุทัย เหตุของปัญหา นิโรธ แนวทางการแก้ปัญหา มรรค วิธีการแก้ปัญหา สถานภาพทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เหตุที่ปรากฏ เหตุที่ซ้อนเร้น หลักการ วิสัยน์ทัศน์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ แผนจัดการองค์กร งบประมาณ กฎ กติกา

41 นิโรธ แนวทางการแก้ปัญหา
41 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด นิโรธ แนวทางการแก้ปัญหา หลักการ วิสัยทัศน์ : ภาพอนาคตของทรัพยากรทางทะเล และ ชายฝั่ง กลยุทธ์ : แนวทาง

42 มรรค วิธีปฏิบัติเพื่อดับทุกข์
42 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด มรรค วิธีปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ “จะแก้สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกได้อย่างไร” ยกทุกข์ แต่ละเรื่อง ขึ้นมา ทุกข์นั้น มีสาเหตุจากอะไร จะแก้ไขที่สาเหตุได้อย่างไร

43 มรรค: วิธีปฏิบัติเพื่อดับทุกข์
43 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด มรรค: วิธีปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ สภาวะ (ทุกข์) สาเหตุ/ปัญหาที่ปรากฏ สาเหตุ 1 สาเหตุ 2 สาเหตุ 3 สาเหตุ 4 การแก้ไข 1 การแก้ไข 2 การแก้ไข 3 การแก้ไข 4 การแก้ไข 5 สาเหตุ/ปัญหาซ่อนเร้น ข้อมูล ความรู้ ได้แก่ บุคลากร ได้แก่ กฎหมายได้แก่ โครงสร้างหน่วยงาน ได้แก่ ค่านิยม ได้แก่ ผลประโยชน์ ได้แก่ การแก้ไข 1 การแก้ไข 2 การแก้ไข 3 การแก้ไข 4 การแก้ไข 5

44 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด
44 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด

45 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง
45 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง

46 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง
46 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง

47 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง
47 สถานการณ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง

48

49

50 องค์ประกอบของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ นิโรธ : หนทางดับทุกข์
50 นโยบายและแผนการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัด สถานภาพทรัพยากรปัจจุบัน + สถานการณ์ การใช้ประโยชน์ ปัญหา + นโยบาย นิโรธ : หนทางดับทุกข์ องค์ประกอบของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ สิ่งที่ต้องการเห็นในอนาคต กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แนวทางที่จะทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด เกณฑ์ใช้วัดว่าบรรลุตามเป้าหมายหรือไม่ เป้าหมาย สิ่งที่ต้องการให้บรรลุเมื่อทำตามยุทธศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google