งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
บทที่ 2 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

2 ความหมายและวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน
ความหมายของการบัญชีต้นทุน การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลทางด้านต้นทุนและจัดทำรายงานเกี่ยวกับต้นทุนสินค้าที่ผลิต ตลอดจนรายงานทางการเงินเพื่อผู้บริหารใช้ในการจัดการควบคุมการดำเนินงานปัจจุบันและวางแผนในอนาคต วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน - คำนวณต้นทุนและราคาขายของสินค้า - คำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ - เพื่อวางแผนและควบคุม

3 ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีต้นทุน บัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีต้นทุน บัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร การบัญชีการเงิน บันทึกข้อมูลทางการเงินด้านข้อมูลต้นทุนเดิมเพื่อจัดทำงบเสนอบุคคลภายนอก การบัญชีบริหาร บันทึกข้อมูลทางการเงินด้วยข้อมูลต้นทุนเดิมและการประมาณการที่จำเป็นในการบริหาร การบัญชีต้นทุน เป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร

4 การจำแนกประเภทต้นทุน
- ต้นทุนที่ยังไม่หมดประโยชน์ - ต้นทุนที่หมดประโยชน์แล้ว

5 การจำแนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labors) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Factory Overhead)

6 การจำแนกต้นทุนตามลักษณะของต้นทุนการผลิต
ต้นทุนขั้นต้น = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง ต้นแปรสภาพ = ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต

7 การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมที่สัมพันธ์ต่อกิจกรรม
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ต้นทุนกึ่งผันแปร (Semi – Variable Costs) ต้นทุนกึ่งคงที่ (Semi – Fixed Costs)

8 การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมกับหน่วยต้นทุน
ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)

9 การจำแนกต้นทุนตามลักษณะหน้าที่
ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost) ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labors) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Factory Overhead) ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต (Non - Manufacturing Cost) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expense) ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expense) ค่าใช้จ่ายบริหารทั่วไป (Administrative Expense) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Other Expense)

10 การจำแนกต้นทุนตามงวดบัญชี
ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) ต้นทุนงวดเวลา (Period Cost)

11 การจำแนกต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนจม (Sunk Cost) ต้นทุนหลีกเลี่ยงได้ (Available Cost) ต้นทุนเสียโอกาส (Opportunity Cost) ต้นทุนส่วนที่แตกต่าง (Differential Cost)

12 การจำแนกต้นทุนตามสัมพันธ์กับเวลา
ต้นทุนในอดีต (Historical Cost) ต้นทุนทดแทน (Replacement Cost) ต้นทุนในอนาคต (Future Cost)

13 สินค้าคงเหลือของธุรกิจผลิตสินค้า
วัตถุดิบคงเหลือ (Raw Materials Inventory) งานระหว่างทำ (Work in Process Inventory) สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (Finished Goods Inventory)

14 งบการเงินของธุรกิจ ธุรกิจซื้อขายสินค้า สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด
ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ xxx ธุรกิจผลิตสินค้า สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ สินค้าสำเร็จรูป xxx งานระหว่างทำ xxx วัตถุดิบ xxx xxx

15 งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ)
ธุรกิจซื้อขายสินค้า สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อสุทธิ สินค้ามีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนขาย xxx ธุรกิจผลิตสินค้า สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป สินค้ามีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนขาย xxx

16 งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ)
การคำนวณวัตถุดิบทางตรงใช้ไปในการผลิต วัตถุดิบทางตรงใช้ไป = วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด + ซื้อวัตถุดิบ (สุทธิ) – วัตถุดิบคง เหลือปลายงวด – วัตถุดิบทางอ้อมใช้ไป *ในกรณีที่มีการแยกวัตถุดิบทางอ้อม ออกจากบัญชีหรือยอดคงเหลือของวัตถุดิบต้นงวด วัตถุดิบปลายงวด และวัตถุดิบที่ซื้อระหว่างงวด ไม่ต้องนำวัตถุดิบทางอ้อมใช้ไปมาแสดงรายการหักออก ตามตัวอย่าง วัตถุดิบทางตรงใช้ไป = 608, ,100, ,000 – 388,800 = 1,919,200 บาท

17 งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ)
การคำนวณต้นทุนการผลิตระหว่างงวด ต้นทุนการผลิตสินค้าระหว่างวด = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต ตามตัวอย่าง ต้นทุนการผลิตระหว่างงวด = 1,919, ,240, ,312,800 = 6,472,000 บาท

18 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า (ต่อ)
การคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูประหว่างงวดทั้งสิ้น ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป = ต้นทุนการผลิตระหว่างงวด + งานะระหว่างทำ ต้นงวด – งานระหว่างทำปลายงวด หรือ ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต + งานระหว่างทำต้นงวด - งานระหว่างทำปลายงวด ตามตัวอย่าง ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = 6,472, ,000 – 640,000 = 6,368,000 บาท ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = 1,919, ,240, ,312, ,000 – 640,000

19 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า (ต่อ)
การคำนวณต้นทุนขายสำหรับงวด ต้นทุนขาย = สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด + ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด ตามตัวอย่าง ต้นทุนขาย = 420, ,368, ,000 = 6,408,000 บาท การคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน = ขาย – ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำไรจากการดำเนินงาน = 16,500,000 – 6,408,000 – 1,470,000 = 8,622,000 บาท


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google