ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อาจารย์ประจำวิชาอภิธาน
บทที่ ๒ สัคคกัณฑ์ โดย พระมหาโกมล กมโล อาจารย์ประจำวิชาอภิธาน
2
วิชอภิธาน ความนำ คัมภีร์อภิธานเป็นคัมภีร์ที่ยังทรงคุณค่าตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน แต่ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก ในการศึกษาวิชาอภิธานซึ่งเป็นการศึกษาด้านภาษาศาสตร์จำเป็นจะต้องมีการค้นคว้าในเรื่องของคำศัพท์มาก คัมภีร์อภิธาน แบ่งออกเป็น ๓ กัณฑ์ใหญ่ คือ ๑. สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยศัพท์ที่เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า ชื่อพระนิพพาน พระอรหันต์ และโลกสวรรค์ เป็นต้น ๒. ภูกัณฑ์ ว่าด้วยนามศัพท์ที่เป็นสถานที่ พื้นดิน ภูเขา ต้นไม้ แม่น้ำ และ ลำธาร เป็นต้น ๓. สามัญญกัณฑ์ ว่าด้วยนามศัพท์และคุณศัพท์สามัญทั่วๆ ไป มีความดีงาม ความประเสริฐ การกระทำเป็นต้น รวมทั้งศัพท์ที่เป็นนิบาตบทและอุปสัคบท นอกจากนั้น ในกัณฑ์ใหญ่ทั้ง ๓ นั้น ยังประกอบด้วยวรรคย่อยอีก ๑๗ วรรค มีภูมิวรรค และปุรวรรค เป็นต้น เมื่อรวมปณามคาถา ปฏิญญาคาถา ปริภาสาคาถา และนิคมนคาถา ทั้งหมดแล้ว มีจำนวนทั้งสิ้น ๑,๒๒๑ คาถา ในบทนี้ จะกล่าวเฉพาะสัคคกัณฑ์อันเป็นกัณฑ์แรกในคัมภีร์มีจำนวน ๑๗๙ คาถา แต่จะนำมาจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอภิธานนี้เพียง ๔๐ คาถา ประกอบด้วยคำศัพท์เหล่านี้ ๒.๑ พระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๓๒ ศัพท์ ๒.๒ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ๗ ศัพท์ ๒.๓ นิพพาน ๔๖ ศัพท์ ๒.๔ พระอรหันต์ ๔ ศัพท์ ๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์ ๒.๖ ดวงจันทร์, เจ้าแห่งดวงดาว ๑๔ ศัพท์
3
ต่อ ๒.๗ ดวงดาว ๖ ศัพท์ ๒.๘ กลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม
วิชาอภิธาน ต่อ ๒.๗ ดวงดาว ๖ ศัพท์ ๒.๘ กลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม ๒.๙ ดวงอาทิตย์ ๑๙ ศัพท์ ๒.๑๐ รัศมี, แสง, แสงสว่าง ๑๔ ศัพท์ ๒.๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๒.๑๒ ฤดู ๖ ศัพท์ ๒.๑๓ บาป, อกุศล, ความชั่ว ๑๒ ศัพท์ ๒.๑๔ บุญ, กุศล, กรรมดี, ธรรม ๖ ศัพท์ ๒.๑๕ โลกนี้, ภพปัจจุบัน, ชาตินี้ ๓ ศัพท์ ๒.๑๖ โลกหน้า, ภพหน้า, ชาติหน้า, ๒ ศัพท์ ๒.๑๗ ขณะนั้น, เวลานั้น ๒ ศัพท์ ๒.๑๘ กาลข้างหน้า ๒ ศัพท์ ๒.๑๙ ความยินดี, ความร่าเริง ๑๓ ศัพท์ ๒.๒๐ ความสุข, ความสะดวก, ความสบาย, ความสำราญ ๓ ศัพท์ ๒.๒๑ ความดี, ความเจริญ, ความประเสริฐ, มงคล ๗ ศัพท์ ๒.๒๒ ความทุกข์, ความลำบาก, ความยาก, ๖ ศัพท์ ๒.๒๓ ผลกรรมเก่า, วิบาก, โชค ๕ ศัพท์ ๒.๒๔ การเกิด, การอุบัติ ๕ ศัพท์ ๒.๒๕ เหตุ, ปัจจัย, นิมิต ๑๒ ศัพท์ ๒.๒๖ เหตุใกล้ผล, ปทัฏฐาน ๒.๒๗ ตัวตน, วิญญาณ, อาตมัน, อัตตา ๓ ศัพท์ ๒.๒๘ ปรกติ, ธาตุเดิม, ธาตุแท้ ๒ ศัพท์ ๒.๒๙ สัตว์, บุคคล ๑๓ ศัพท์ ๒.๓๐ อารมณ์ ๖ อย่าง ๒.๓๑ อารมณ์ ๔ ศัพท์ ๒.๓๒ นาฏยรส ๙ อย่าง ๒.๓๓ คำพูด ๑๓ ศัพท์ ๒.๓๔ วากยะ, ประโยค ๒.๓๕ เวลากล่าวคำพูดซ้ำ ๒.๓๖ คัมภีร์ไตรเพท ๓ คัมภีร์ ๒.๓๗ คัมภีร์เวท ๓ ศัพท์ ๒.๓๘ ฤษีผู้รจนาคัมภีร์เวท ๑๐ ท่าน ๒.๓๙ บทสรูป
4
๒.๑ พระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๓๒ ศัพท์
วิชาอภิธาน TEN องฺคีรโส ONE พุทฺโธ NINE จกฺขุมา TWO ทสพโล ๑๐ EIGHT นาโถ THREE สตฺถา SEVEN ภควา FOUR สพฺพญฺญู SIX มุนินฺโท FIVE ทฺวิปทุตฺตโม
5
ต่อ ๒๐ นรสีโห มุนิ มารชิ โลกนาโถ ภูริปญฺโญ อนธิวโร
วิชาอภิธาน ต่อ TWENTY นรสีโห ELEVEN มุนิ NINETEEN มารชิ TWELVE โลกนาโถ ๒๐ EIGHTTEEN ภูริปญฺโญ THIRTHEEN อนธิวโร SEVENTEEN สุคโต FOURTEEN มเหสิ SIXTEEN สมนฺตจกฺขุ FIFTEEN วินายโก
6
ต่อ ๓๒ ชิโน นรวโร นายโก ธมฺมราชา วรปญฺโญ
THIRTY-TWO ชิโน วิชาอภิธาน ต่อ TWENTY-ONE นรวโร THIRTY-ONE นายโก TWENTY-TWO ธมฺมราชา ๓๒ THIRTY วรปญฺโญ TWENTY-THREE มหามุนิ TWENTY-NINE สมฺมาสมฺพุทฺโธ TWENTY-FOUR เทวเทโว TWENTY-EIGHT สยมฺภู TWENTY-FIVE โลกครุ TWENTY-SEVEN ตถาคโต TWENTY-SIX ธมฺมสฺสามี
7
๒.๒ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ๗ ศัพท์
วิชาอภิธาน ONE สกฺโก SEVEN อาทิจฺจพนฺธุ ๗ TWO สิทฺธตฺโถ SIX สกฺยมุนิ THREE สุทฺโธทนิ FiVE สกฺยสีโห FOUR โคตโม
8
๒.๓ นิพพาน ๔๖ ศัพท์ ๑) โมกฺโข ๑๓) อสงฺขตํ ๒) นิโรโธ ๑๔) สิวํ
วิชาอภิธาน ๑๓) อสงฺขตํ ๑) โมกฺโข ๒) นิโรโธ ๑๔) สิวํ ๑๕) อมตํ ๓) นิพฺพานํ ๔) ทีโป ๑๖) สุทุทฺทสํ ๑๗) ปรายนํ ๕) ตณฺหกฺขโย ๖) ปรํ ๑๘) สรณํ ๑๙) อนีติกํ ๗) ตาณํ ๘) เลณํ ๒๐) อนาสวํ ๒๑) ธุวํ ๙) อรูปํ ๑๐) สนฺตํ ๒๒) อนิทสฺสนํ ๒๓) อกตํ ๑๑) สจฺจํ ๑๒) อนาลยํ ๒๔) อปโลกิตํ
9
ต่อ ๒๕) นิปุณํ ๓๗) ปทํ ๒๖) อนนฺตํ ๓๘) โยคกฺเขโม ๒๗) อกฺขรํ ๓๙) ปารํ
วิชาอภิธาน ๓๗) ปทํ ๒๕) นิปุณํ ๒๖) อนนฺตํ ๓๘) โยคกฺเขโม ๓๙) ปารํ ๒๗) อกฺขรํ ๒๘) ทุกฺขกฺขยํ ๔๐) มุตฺติ ๔๑) สนฺติ ๒๙) อพฺยาปชฺฌํ ๓๐) วิวฏฺฏํ ๔๒) วิสุทฺธิ ๔๓) วิมุตฺติ ๓๑) เขมํ ๓๒) เกวลํ ๔๔) อสงฺขตธาตุ ๔๕) สุทฺธิ ๓๓) อปวคฺโค ๓๔) วิราโค ๔๖) นิพฺพุติ ๓๕) ปณีตํ ๓๖) อจฺจุตํ
10
๒.๔ พระอรหันต์ ๔ ศัพท์ อรหา วีตราโค อเสกฺโข ขีณาสโว วิชาอภิธาน ๔
๓ ๒ ๑
11
๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์ ติทิสาลโย ติทิโว สคฺโค ทิโว เทวโลโก
วิชาอภิธาน ๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์ ติทิสาลโย ติทิโว สคฺโค ทิโว ๕ ๔ เทวโลโก ๓ ๒ ๑
12
๑๔ ๒.๖ ดวงจันทร์ เจ้าแห่งดวงดาว ๑๔ ศัพท์ อินทุ สสงฺโก จนฺโท จนฺทิมา
วิชาอภิธาน อินทุ ๑ ๘ สสงฺโก จนฺโท ๒ ๙ จนฺทิมา ๑๔ นกฺขตฺตราชา ๓ ๑๐ สสี โสโม ๔ ๑๑ สีตรํสิ นิสากโร ๕ ๑๒ นิสานาโถ โอสธีโส ๖ ๑๓ อุฬุราชา หิมรํสิ ๗ ๑๔ มา
13
✰ ๖ ๒.๗ ดวงดาว ๖ ศัพท์ นกฺขตฺตํ ตารา โชติ ตารกา ภํ อุฬุ ๑ ๔ ๒ ๕ ๓ ๖
วิชาอภิธาน นกฺขตฺตํ ๑ ๔ ตารา ✰ ๖ โชติ ๒ ๕ ตารกา ภํ ๓ ๖ อุฬุ
14
✰ ๒๗ ๒.๘ กลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม อสฺสยุโช ภทฺทปทา ปุสฺโส วิสาขา อาสาฬฺหา
วิชาอภิธาน อสฺสยุโช ๑ ๒๓ ภทฺทปทา ๘ ปุสฺโส วิสาขา ๑๕ ๑๙ อาสาฬฺหา ภรณี ๒ ๙ อสิเลโส ๒๔ เรวตี ✰ กตฺติกา ๓ ๒๗ ๑๐ มฆา อนุราธา ๑๖ ๒๐ สวโณ โรหิณี ๔ ๑๑ ผคฺคุณี เชฏฺฐา ๑๗ ๒๑ ธนิฏฺฐา ๑๒ หตฺโถ มิคสิรํ ๕ ๒๕ ผคฺคุณี มี ๒ อทฺทา ๖ ๑๓ จิตฺตา ๒๖ อาสาฬฺห มี ๒ มูลํ ๑๘ ๒๒ สตภิสโช ปุนพฺพสุ ๗ ๒๗ ภทฺทปท มี ๒ ๑๔ สาติ
15
สรุปกลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม
วิชาอภิธาน ที่ บาลี ไทย ฤกษ์ที่ ๑ อสฺสยุช ดาวม้า ดาวหางหนู ฤกษ์ที่ ๒ ภรณี ดาวก้อนเส้า ดาวแม่ไก่ ฤกษ์ที่ ๓ กตฺติกา ดาวลูกไก่ ดาวธง ฤกษ์ที่ ๔ โรหิณี ดาวจมูกม้า ดาวไม้ค้ำเกวียน ดาวคางหมู ฤกษ์ที่ ๕ มิคสิร ดาวหัวเนื้อ ดาวหัวเต่า ฤกษ์ที่ ๖ อทฺทา ดาวตาสำเภา ดาวฉัตร ฤกษ์ที่ ๗ ปุนพฺพสุ ดาวเรือไชย ดาวหัวสำเภา สำเภาทอง ฤกษ์ที่ ๘ ปุสฺส, ผุสฺส ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวสมอสำเภา ดาวดอกบัว ฤกษ์ที่ ๙ อสิเลส ดาวงู ดาวเรือน ดาวแมว ฤกษ์ที่ ๑๐ มฆา, มาฆา ดาววานร ดาวงูตัวผู้ ดาวงอนไถ ดาวแข่งม้า ดาวถัง
16
ต่อ ที่ บาลี ไทย ฤกษ์ที่ ๑๑ ปุพฺพผคฺคุณี
วิชาอภิธาน ที่ บาลี ไทย ฤกษ์ที่ ๑๑ ปุพฺพผคฺคุณี ดาวเพดานหน้า ดาววัวตัวผู้ ดาวงูตัวผู้ ฤกษ์ที่ ๑๒ อุตฺตรผคฺคุณี ดาวเพดานหลัง ดาววัวตัวเมีย ดาวงูตัวเมีย ฤกษ์ที่ ๑๓ หตฺถ ดาวศอกคู้ ดาวฝ่ามือ ฤกษ์ที่ ๑๔ จิตฺตา ดาวตาจระเข้ ดาวต่อมน้ำ ดาวหมู ดาวไต้ไฟ ฤกษ์ที่ ๑๕ สาติ ดาวกระออมน้ำ ดาวดวงแก้ว ดาวช้างพัง ดาวงูเหลือม ฤกษ์ที่ ๑๖ วิสาขา ดาวหนองลาด ดาวเหมือง ดาวฆ้อง ดาวแขน ดาวคันฉัตร ดาวเขากระบือ ฤกษ์ที่ ๑๗ อนุราธา ดาวหงอนนาค ดาวธนู ดาวประจำฉัตร ดาวนกยูง ฤกษ์ที่ ๑๘ เชฏฐา ดาวช้างใหญ่ ดาวงาช้าง ดาวคอนาค ดาวแพะ ฤกษ์ที่ ๑๙ มูล ดาวช้างน้อย ดาวแมว ดาวสะดือนาค ฤกษ์ที่ ๒๐ ปุพฺพาสาฬฺห ดาวปากนก ดาวราชสีห์ตัวผู้ ดาวฉัตรทับช้าง
17
ต่อ ที่ บาลี ไทย ฤกษ์ที่ ๒๑ อุตฺตราสาฬฺห
วิชาอภิธาน ที่ บาลี ไทย ฤกษ์ที่ ๒๑ อุตฺตราสาฬฺห ดาวครุฑ ดาวราชสีห์ตัวเมีย ดาวแตรงอน ฤกษ์ที่ ๒๒ สวณ ดาวหลักชัย ดาวพระฤๅษี ดาวหามผี ดาวโลก ดาวคนจำศีล ดาวคนหามหมู ฤกษ์ที่ ๒๓ ธนิฏฺฐา ดาวกา ดาวไซ ดาวเศรษฐี ฤกษ์ที่ ๒๔ สตภิสช ดาวมังกร ดาวพิมพ์ทอง ดาวยักษ์ ดาวงูเลื้อย ฤกษ์ที่ ๒๕ ปุพฺพภทฺทปท ดาวราชสีห์ตัวผู้ ดาวหัวทราย ดาวแรดตัวผู้ ฤกษ์ที่ ๒๖ อุตฺตฺรภทฺทปท ดาวราชสีห์ตัวเมีย ดาวไม้เท้า ดาวแรดตัวเมีย ฤกษ์ที่ ๒๗ เรวดี ดาวปลาตะเพียน ดาวนาง ดาวหญิงมีครรภ์
18
ตารางเปรียบเทียบเดือนและกลุ่มดาวราศีประจำเดือนทั้ง ๑๒ (๑.๑๑)
ต่อ ตารางเปรียบเทียบเดือนและกลุ่มดาวราศีประจำเดือนทั้ง ๑๒ (๑.๑๑) วิชาอภิธาน ที่ ชื่อเดือนบาลี ชื่อเดือนไทย ระหว่างกลางเดือน กลุ่มดาวราศี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ จิตตะ เวสาขะ, วิสาขะ เชฏฐะ อาสาฬหะ สาวณะ โปฏฐปาท, ภัททา อัสสยุชะ กัตติกา มาคสิระ, มิคสิระ ผุสสะ มาฆะ ผัคคุณะ เดือน ๕ เดือน ๖ เดือน ๗ เดือน ๘ เดือน ๙ เดือน ๑๐ เดือน ๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๑ เดือน ๒ เดือน ๓ เดือน ๔ เมษายน-พฤษภาคม พฤษภาคม-มิถุนายน มิถุนายน-กรกฎาคม กรกฎาคม-สิงหาคม สิงหาคม-กันยายน กันยายน-ตุลาคม ตุลาคม-พฤศจิกายน พฤศจิกายน-ธันวาคม ธันวาคม-มกราคม มกราคม-กุมภาพันธ์ กุมภาพันธ์-มีนาคม มีนาคม-เมษายน เมสะ แพะ อุสภะ โค มิถุนะ คู่หญิงชาย กักกฏะ ปู สีหะ ราชสีห์ กัญญา หญิงสาว ตุลา ตราชั่ง วิจฉิกะ แมงป่อง ธนุ ธนู มกระ มังกร กุมภะ หม้อ มีนะ ปลา
19
๑๙ ๒.๙ ดวงอาทิตย์ ๑๙ ศัพท์ อกฺโก สหสฺสรํสิ อาทิจฺโจ อุณฺหรํสิ
วิชาอภิธาน อกฺโก สหสฺสรํสิ ๑๘ อาทิจฺโจ ๑๙ ๑ ๘ อุณฺหรํสิ สุริโย, สูริโย ๒ ๙ ปภงฺกโร ๑๙ สูโร ๓ ๑๐ อํสุมาลี สตรํสิ ๔ ๑๑ ทินปติ ทิวากโร ๕ ๑๒ ตปโน เวโรจโน ๖ ๑๓ รวิ ทินกโร ๗ รํสิมา ๑๔ ภานุ ๑๗ ๑๕ ภานุมา ๑๖ ภากโร
20
๑๔ ๒.๑๐ รัศมี, แสง, แสงสว่าง ๑๔ ศัพท์ รํสิ ทีธิติ อาภา มรีจิ ปภา ภานุ
วิชาอภิธาน รํสิ ๑ ๘ ทีธิติ อาภา ๒ ๙ มรีจิ ๑๔ ปภา ๓ ๑๐ ภานุ ทิตฺติ ๔ ๑๑ อํสุ รุจิ ๕ ๑๒ มยูข ภา ๖ ๑๓ กิรโณ ชุติ ๗ ๑๔
21
๖ ๒.๑๒ ฤดู ๖ เหมนฺโต ต้นฤดูหนาว คิมฺโห, คิมฺหาโน ฤดูร้อน วสฺสาโน ฤดูฝน
วิชาอภิธาน เหมนฺโต ต้นฤดูหนาว ๑ ๒ คิมฺโห, คิมฺหาโน ฤดูร้อน ๖ วสฺสาโน ฤดูฝน ๓ ๔ สิสิรํ ปลายฤดูหนาว วสนฺโต ฤดูใบไม้ผลิ ๕ ๖ สรโท ฤดูใบไม้ร่วง
22
ท่านแสดงวิธีการนับฤดูไว้ ๒ นัย คือ ๑ ปี มี ๓ ฤดู และมี ๖ ฤดู ดังนี้
วิชาอภิธาน การนับฤดูมี ๒ นัย ท่านแสดงวิธีการนับฤดูไว้ ๒ นัย คือ ๑ ปี มี ๓ ฤดู และมี ๖ ฤดู ดังนี้ กิตฺติกกาฬปกฺขโต ปจฺฉิมกตฺติกโต ปฏฺาย จตุโร จตุโร มาสา กมา กมโต เหมนฺตคิมฺหานวสฺสานสญฺตา อุตุโย นาม โหนฺติ. อุตุเภทํ ทสฺเสตุ อริยสามญฺมาห “เหมนฺโต” อิจฺจาทิ. อถวา วุตฺตานุสาเรน อุตุตฺตยปเภเท วุตฺตวจนสฺสานุสาเรน. อิทํ ปน“กตฺติกกาฬปกฺขโต”ติ วจนํ สนฺธาย วุตฺตํ, ตสฺมา กตฺติกกาฬปกฺขโต ปภุติ เทฺว เทฺว มาสา กมา กมโต เหมนฺโต สิสิโร วสนฺโต คิมฺโห วสฺสาโน สรโท อุตูติ ฉ อุตู ภวนฺติ. ๑ ปี มี ๓ ฤดูๆ ละ ๔ เดือน เริ่มนับจากเดือนปัจฉิมกัตติกะ คือ ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ เป็นเหมันตะ ฤดูหนาว, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ เป็นคิมหานะ ฤดูร้อน, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ เป็นวัสสานะ ฤดูฝน อีกนัยหนึ่ง ท่านกล่าวเป็นอริยสามัญคาถาว่า “เหมนฺโต สิสิรมุตู” เป็นต้น เพื่อแสดงชนิดของฤดู โดยคล้อยตามฤดู ๓ อย่างที่กล่าวแล้ว โดยแบ่งเป็น ๖ ฤดูๆ ละ ๒ เดือน ดังนี้ คือ ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนยี่ เป็นเหมันตะ ต้นฤดูหนาว, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือนยี่ ถึงวันขึ้น ๑๕ คำเดือน ๔ เป็นสิสิระ ปลายฤดูหนาว, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือน ๔ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เป็นวสันตะ ฤดูใบไม้ผลิ, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๖ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘ เป็นคิมหะหรือคิมหานะ ฤดูร้อน, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือน ๘ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ เป็นวัสสานะ ฤดูฝน, ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ เป็นสรทะ ฤดูใบไม้ร่วง
23
๑๒ ๒.๑๓ ปาป, อกุศล, ความชั่ว ๑๒ ศัพท์ ปาปํ อปุญฺญํ กิพฺพิสํ อกุสลํ
วิชาอภิธาน ปาปํ ๑ ๗ อปุญฺญํ กิพฺพิสํ ๒ ๘ อกุสลํ ๑๒ เวรํ ๓ ๙ กณฺหํ อฆํ ๔ ๑๐ กลุสํ ทุจฺจริตํ ๕ ๑๑ ทุริตํ ทุกฺกฎํ, ทุกฺกตํ ๖ ๑๒ อาคุ
24
๖ ๒.๑๔ บุญ, กุศล, กรรมดี, ธรรม ๖ ศัพท์ กุสลํ สุกตํ สุกฺกํ ปุญฺญํ ธมฺโม
วิชาอภิธาน กุสลํ ๑ ๒ สุกตํ ๖ สุกฺกํ ๓ ๔ ปุญฺญํ ธมฺโม ๕ ๖ สุจริตํ
25
๑๓ ๒.๑๙ ความยินดี, ความร่าเริง ๑๓ ศัพท์ หาโส ปมุท อตฺตมนตา อาโมโท ปีติ
วิชาอภิธาน หาโส ๑ ๗ ปมุท อตฺตมนตา ๒ ๘ อาโมโท ๑๓ ปีติ ๓ ๙ สนฺโตโส วิตฺติ ๔ ๑๐ นนฺทิ ตุฏฺฐิ ๕ ๑๑ สมฺมโท อานนฺโท ๖ ๑๒ ปาโมชฺชํ ๑๓ ปโมโท
26
๗ ๒.๒๑ ความดี, ความเจริญ, มงคล ๗ ศัพท์ ภทฺทํ เสยฺโย สุภํ เขมํ กลฺยาณํ
วิชาอภิธาน ภทฺทํ ๑ ๒ เสยฺโย ๗ สุภํ ๓ ๔ เขมํ กลฺยาณํ ๕ ๖ ๗ มงฺคลํ สิวํ
27
๑๒ ๒.๒๕ เหตุ, ปัจจัย, นิมิต ๑๒ ศัพท์ นิมิตฺตํ นิทานํ การณํ ปภโว ฐานํ
วิชาอภิธาน นิมิตฺตํ ๑ ๗ นิทานํ การณํ ๒ ๘ ปภโว ๑๒ ฐานํ ๓ ๙ เหตุ ปทํ ๔ ๑๐ สมฺภโว พีชํ ๕ ๑๑ เสตุ นิพนฺธนํ ๖ ๑๒ ปจฺจโย
28
๑๓ ๒.๒๙ สัตว์, บุคคล ๑๓ ศัพท์ ปาโณ ชีโว สรีรี ปาณี ภูตํ ปชา สตฺโต
วิชาอภิธาน ปาโณ ๑ ๗ ชีโว สรีรี ๒ ๘ ปาณี ๑๓ ภูตํ ๓ ๙ ปชา สตฺโต ๔ ๑๐ ชนฺตุ เทหี ๕ ๑๑ ชโน ปุคฺคโล ๖ ๑๒ โลโก ๑๓ ตถาคโต
29
๙ ๒.๓๒ นาฏยรส ๙ อย่าง สิงฺคาโร รสรัก สนฺโต รสความสงบ กรุณา รสสงสาร
วิชาอภิธาน สิงฺคาโร รสรัก ๑ ๗ สนฺโต รสความสงบ กรุณา รสสงสาร ๒ ๘ พีภจฺฉํ รสความเกลียด ๙ วีโร รสกล้าหาญ ๓ ๙ รุทฺทํ รสความโกรธ อพฺภุโต รสอัศจรรย์ ๔ หาโส รสสนุกสนาน ๕ ภยานกํ รสความกลัว ๖
30
๑๓ ๒.๓๓ คำพูด ๑๓ ศัพท์ ภาสิตํ อุตฺติ ลปิตํ วาจา ภาสา คิรา โวหาโร วาณี
วิชาอภิธาน ภาสิตํ ๑ ๗ อุตฺติ ลปิตํ ๒ ๘ วาจา ๑๓ ภาสา ๓ ๙ คิรา โวหาโร ๔ ๑๐ วาณี วจนํ ๕ ๑๑ ภารตี วโจ ๖ ๑๒ กถิตา ๑๓ วจี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.