งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย 2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย 2"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย 2

2 ระบบเลือกตั้ง การเลือกตั้งแบบเสียงข้างมาก (majority system)
ผู้สมัครคนใดได้คะแนนมากกว่าก็เป็นผู้ชนะ First past the post <FPTP> หรือ single member plurality ผู้ชนะเพียงหนึ่งคนในเขตเลือกตั้ง ลงคะแนนให้กับผู้สมัครเพียงหนึ่งคน ผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดเป็นผู้ชนะ<plurality winning rule>, winner takes all

3 ไม่ค่อยเป็นที่นิยม ไทยเคยใช้อยู่แต่ก็ยกเลิกไป
อาจมีการเลือกตั้งแบบเขตเดียวได้หลายคน โดยเรียงตามคะแนนที่ได้รับ หนึ่งเขต มี 3 คน ผู้สมัคร 10 คน ผู้ที่ชนะคือ ผู้ที่ได้คะแนนลำดับที่ 1 ถึง 3 ไม่ค่อยเป็นที่นิยม ไทยเคยใช้อยู่แต่ก็ยกเลิกไป

4 ระบบการเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร

5 การเลือกตั้งแบบสัดส่วน <proportional system>
ข้อจำกัดของระบบแบบเดิม มีคะแนนที่ไม่มีความหมายเป็นจำนวนมาก เช่น แพ้ 45 ต่อ 55 คำนวณที่นั่งจากคะแนนเสียงที่พรรคการเมืองนั้นได้รับตามสัดส่วนของคะแนนที่ได้รับมา

6 ลักษณะสำคัญของการเลือกตั้งแบบสัดส่วน
คะแนนทุกคะแนนถูกนำมาคำนวณ เขตเลือกตั้งจะเป็นขนาดใหญ่ เช่น ระดับประเทศ ระดับภาค เป็นต้น ให้ความสำคัญกับนโยบายพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง (ส.ส. บัญชีรายชื่อ) จะนำมาซึ่งการเติบโตหรืออ่อนแอของพรรคการเมือง ?

7 คะแนนเสียง จำนวน ส.ส. 200 คน พรรคเรือดำน้ำ 50 100 พรรคนกหวีด 40 80 พรรคดาวดิน 10 20

8

9

10

11 ระบบเลือกตั้ง ส.ส. เขต มักจะเป็นเขตละ 1 คน เพื่อให้ได้ผู้แทนจากพื้นที่เข้าไปเป็นตัวแทนของตน ส.ส. บัญชีรายชื่อ เพื่อสร้างความเข้มแข็งกับพรรคการเมืองในการผลักดันนโยบาย

12 รัฐธรรมนูญ 2540, 2550 ระบบเขตแบบเขตเดียว คนเดียว >> เสียงข้างมาก
ระบบบัญชีรายชื่อ >> สัดส่วนตามคะแนนที่ได้รับ แนวโน้มของระบบการเลือกตั้งในปลาย ศ. 20 ประเทศเกิดใหม่มีแนวโน้มใช้สองระบบร่วมกัน (mixed member majoritarian system – MMM)

13 2540, 2550 เปลี่ยนสัดส่วน ส.ส. 2 ระบบ
2540 ระบบเขต 400 บัญชีรายชื่อ 100 2550 ระบบเขต 375 บัญชีรายชื่อ 125 (เดิม 400/80) ระบบเขต >> แบ่งเขต 3 เบอร์ ระบบบัญชีรายชื่อ >> 8 กลุ่มจังหวัด กลุ่มละ 10 คน ระบบเลือกตั้งแบบนี้มีนัยสำคัญอย่างไร

14

15 ผลกระทบ ประชาชนสามารถลงคะแนนได้ 2 ใบ เกิดสโลแกน “เลือกคนที่รัก เลือกพรรคที่ชอบ” ระดับเขต >> เลือกผู้สมัครแบบไหน ใกล้ชิดกับท้องถิ่นหรือไม่ ระดับประเทศ >> เลือกพรรคแบบไหน พรรคการเมืองต้องเลือกผู้สมัคร และพยายามขายนโยบายในการเลือกตั้ง

16 ความสำคัญของพรรคการเมือง >> สร้างพรรคขนาดใหญ่ผ่านการขายนโยบาย >> 16 ล้านเสียง
พรรคขนาดเล็กเกิดได้ >> ไม่ส่ง ส.ส. เขต เน้นบัญชีรายชื่อ (พรรคชูวิทย์) พรรคระดับจังหวัด >> พรรคพลังชล, พรรคบรรหาร

17 พรรครักประเทศไทย

18 ระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560
mixed member apportionment system – MMA ระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม ระบบเขต 350 ระบบบัญชีรายชื่อ 150 คะแนนระบบบัญชีรายชื่อมาจากผลรวมของคะแนนเขต (หนึ่งใบ สองคะแนน)

19

20 บทเรียนของต่างประเทศ
อัลบาเนีย (1992), เกาหลีใต้ ( ), เยอรมัน (1949), เม็กซิโก, เลโซโท เคยใช้ระบบนี้แต่เลิกไป

21 ผลกระทบ การลงคะแนน >> ไม่สะท้อนว่าเลือกคนหรือพรรค หนึ่งใบถูกนับสองครั้ง ระบบเขตสำคัญ >> การดึงตัวผู้สมัครและการแข่งขันจะรุนแรงมากขึ้น รวมไปถึงการซื้อเสียง ตัวบุคคล กลุ่มในพรรคจะสำคัญมากขึ้นในการต่อรองตำแหน่ง ผลประโยชน์

22

23 การเลือกตั้งปี 2554 บุรีรัมย์
ระบบเขต พรรคภูมิใจไทยซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ได้ที่นั่งเขตไปถึง 7 ที่นั่ง เพื่อไทยเพียง 2 ที่นั่ง ระบบบัญชีรายชื่อ ภูมิใจไทยได้ 226,741 เพื่อไทยได้ 329,568 คะแนน 

24 พรรคการเมือง >> พรรคขนาดกลางมีลักษณะจังหวัดนิยม ภูมิภาคนิยม เช่น พรรคประชาชาติ พรรคพลังชล มีแนวโน้มจะได้เปรียบ (คาดหมาย) รัฐบาลแบบผสม >> กลับไปสู่ปัญหารัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ การต่อรองของกลุ่มภายในพรรค

25 อะไรคือเป้าหมายของการออกแบบระบบการเลือกตั้งในลักษณะเช่นนี้

26 ประจักษ์ ก้องกีรติ: ระบบเลือกตั้ง “จัดสรรปันส่วนผสม”: ปัญหาและทางออก
ระบบเลือกตั้งจัดสรรปันส่วนผสม (ขยายความ): ความเป็นสัดส่วนไม่ได้เท่ากับความเป็นประชาธิปไตย

27

28 อ่านประกอบ เว็บไซต์ ILAW สรุป รัฐธรรมนูญ 2560 สรุปร่าง รธน. เมื่อสิทธิเสรีภาพเขียนใหม่เป็นหน้าที่ของรัฐ รีวิว ระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย

29 พรรคการเมือง ไม่มีประเทศเสรีประชาธิปไตยไหน ที่ไม่มีพรรคการเมือง
ทำไมต้องมีพรรคการเมือง ใครอยากสมัคร ส.ส. ก็สมัครเลยไม่ได้หรือ

30 ความหมาย การรวมกันของบุคคลที่มีความคิดเห็น หลักการ แนวคิด ที่ร่วมกัน
ทางเศรษฐกิจ >>เสรีนิยม หรือรัฐสวัสดิการ ทางศาสนา >> เน้นศาสนา หรือโลกย์วิสัย ทางสังคม >> ชาตินิยม หรือสิทธิมนุษยชน ในไทย มีความแตกต่างหรือไม่

31 นำเสนอแนวนโยบายเพื่อได้รับการสนับสนุน
ต้องการควบคุมการบริหารงานและการดำเนินนโยบายผ่านการเลือกตั้ง คัดเลือก และส่งคนสู่กระบวนการเลือกตั้ง คัดเลือก และส่งคนเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมือง ตรวจสอบ ถ่วงดุลการทำงานของรัฐบาล

32 ในแต่ละประเทศจะมีพรรคขนาดใหญ่ดำรงอยู่
บางประเทศ มีพรรคขนาดใหญ่พรรคเดียว พรรคเสรีประชาธิปไตยครองเสียงข้างมากในรัฐสภาญี่ปุ่นมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ 2498 จนถึงปัจจุบัน ยกเว้นช่วงเวลาสั้นๆ ( และ ) 

33 บางประเทศ มีพรรคขนาดใหญ่ 2 พรรค หรือหลายพรรคขึ้นไป ในอังกฤษ
พรรคอนุรักษ์นิยม <Conservative Party> พรรคแรงงาน <Labor Party> ในสหรัฐฯ Democrat Party Republican Party

34 ประเด็นสำคัญคือ การโต้แย้งกันภายใต้กติกาทางการเมือง ฝ่ายที่แพ้ก็พยายามปรับปรุงนโยบาย การทำความเข้าใจ เพื่อเรียกคะแนนเสียงจากประชาชน การดำเนินนโยบายเพื่อหาเสียงจึงเป็นเรื่องปกติในระบอบประชาธิปไตย ความแตกต่างกันในเชิงนโยบายก็เป็น “ความปกติ” ไม่ใช่ความวุ่นวาย

35

36 การปกครองซึ่งประชาชนใช้อำนาจอธิปไตยในการปกครองโดยอ้อมและโดยตรง
มีระบบผู้แทน / การเลือกตั้งผู้แทนเข้าไปทำหน้าที่ แต่ในขณะเดียวกันประชาชนก็สามารถใช้อำนาจโดยตรง ประชาธิปไตยทางตรง <direct democracy> เป็นส่วนเสริมของระบอบประชาธิปไตย

37 การเคลื่อนไหวทางสังคม <Social movement>
การแสดงออกของประชาชนในประเด็นปัญหา ข้อถกเถียงเรื่องต่างๆ เช่น การดำเนินโครงการของรัฐขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบอย่างรุนแรง

38

39

40

41 ถือเป็นสิทธิพื้นฐานของประชาชน แม้อาจไม่มีผลทางกฎหมายโดยตรง
เสรีภาพในการแสดงความเห็น เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ เสรีภาพของสื่อมวลชนในการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร เพื่อเป็นแรงกดดันและนำไปสู่การตัดสินใจของฝ่ายการเมือง

42 การทำประชามติ (Referendum)
ให้ประชาชนเป็นผู้แสดงเจตจำนงในการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ โดยตรง โดยเฉพาะในประเด็นสำคัญของส่วนรวม เช่น การแก้ไข รธน. การปรับเปลี่ยนแปลงค่าเงิน การเป็น/การออกจากสมาชิกของสหภาพยุโรป เป็นต้น ผลของการลงประชามติมีผลผูกพันให้ต้องปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้

43 Br<itain> exit

44 หลักการพื้นฐาน การจัดลงคะแนนต้องเป็นกลาง โปร่งใส ตรวจสอบได้
เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายสามารถมีสิทธิในการลงคะแนน เปิดโอกาสให้แสดงความเห็นได้อย่างเสรีทั้งฝ่ายที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย

45

46 การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
โดยทั่วไป ผู้แทนมักทำหน้าที่เสนอร่าง กม. สู่การพิจารณาของฝ่ายนิติบัญญัติ แต่หลายประเทศกำหนดให้ ปชช. สามารถเสนอร่าง กม. ได้ ด้วยกำหนดจำนวนขั้นต่ำไว้ แต่ยังคงต้องให้รัฐสภาเป็นผู้ให้ความเห็นชอบในขั้นสุดท้าย

47 แต่มีข้อจำกัดให้เสนอได้ในบางเรื่องเท่านั้น
รธน มาตรา133, พ. ร. บ. ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 2556 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอร่าง พ.ร.บ. ต่อรัฐสภาเพื่อให้พิจารณาออกเป็นกฎหมาย ร่างพ.ร.บ. ที่ประชาชนจะเสนอได้ ต้องเกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญในหมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ

48 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
บุคคลย่อมเสมอภาคกันทางกฎหมาย บุคคลย่อมสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ฯลฯ

49 หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขต รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง รัฐต้องจัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง รัฐต้องอนุรักษ์ฟื้นฟู ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ

50

51 ทางกลุ่มจะเสนอแก้กฎหมายในเรื่องไหน ด้วยเหตุผลอะไร
กระบวนการเสนอมีความยากลำบากหรือไม่ อย่างไร หากพิจารณาจากบทบัญญัติทางกฎหมายกับการปฏิบัติจริง

52

53 ตัวอย่างคำถาม รัฐธรรมนูญ 2560 ได้กำหนดระบบการเลือกตั้งไว้ในลักษณะอย่างไร และ นศ. มีความเห็นว่าระบบการเลือกดังกล่าวเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ก่อนตอบคำถาม ควรกำหนดประเด็นที่จะตอบไว้เบื้องต้น เนื้อหาที่จะตอบมีประเด็นสำคัญอะไรบ้าง หนึ่ง ระบบเลือกตั้งตาม รธน. เป็นอย่างไร สอง ความเหมาะสมของระบบการเลือกตั้ง

54 หลังจากนั้น ก็วางเค้าโครงการตอบ
หนึ่ง เกริ่นนำถึงความสำคัญของระบบเลือกตั้ง สอง ระบบเลือกตั้งของไทยเป็นแบบใด สาม ความเห็นของซึ่งมาจากการอ่านงานวิชาการ และการวิเคราะห์ของ นศ. ว่าเป็นอย่างไร สี่ สรุป

55 อย่าเขียนมาแบบย่อหน้าเดียว ตั้งต้นจนจบคำตอบ
ลายมือ ถ้าอ่านไม่ออกก็ไม่อ่านครับ สอบกลางภาค 3 ตุลาคม น. อย่ามาสายกว่า 8.15 น. นำเอกสารทุกชนิดเข้าห้องสอบได้ แต่ห้ามยืมกันระหว่างสอบ


ดาวน์โหลด ppt การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย 2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google