ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
โดย ครูวิไล พันธุ์มา
2
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ คืออะไร
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ คืออะไร การเขียนที่มุ่งเสนอความรู้ ความจริง มีระบบ มีแบบแผน คือ ระบุแหล่งที่มาชัดเจน ใช้ภาษาระดับทางการ กระชับ ชัดเจน
3
ส่วนประกอบของรายงานเชิงวิชาการ
ส่วนหน้า ส่วนเนื้อหา ส่วนท้าย
4
ปกนอก ใบรองปก ปกใน คำนำ สารบัญ ส่วนหน้า
5
ส่วนเนื้อหา บทนำ ประกอบด้วย เนื้อเรื่อง สรุป
6
ส่วนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก ประกอบด้วย อภิธานศัพท์ ดัชนี
7
บรรณานุกรม เรียงตามหลักพจนานุกรม เรียงตามลำดับอักษรของชื่อผู้แต่ง
เรียงภาคภาษาไทยก่อนภาษาอังกฤษ
8
ขั้นตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เลือกเรื่อง ตั้งชื่อเรื่อง กำหนดจุดมุ่งหมาย ขอบเขต คือ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล วางโครงเรื่อง เรียบเรียงเขียนรายงาน
9
จำกัดโดยหัวข้อย่อยเพื่อเจาะลึก
จำกัดโดยระยะเวลา จำกัดโดยสถานที่ ขอบเขต ของเรื่อง จำกัดโดยกลุ่มบุคคล จำกัดโดยหัวข้อย่อยเพื่อเจาะลึก
10
ประเภทของข้อมูล ช่องทางการรับข้อมูล
จากเอกสาร จากการอ่าน ภาคสนาม จากการฟัง จากการสังเกต
11
มารยาทในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ต้องบอกถึงแหล่งที่มาของข้อมูล ไม่ลอกเลียนแบบงานของผู้อื่น ควรอ้างจากต้นฉบับ
12
ทดสอบหน่อยดีกว่า
13
๑. งานเขียนข้อใด ไม่ใช่ การเขียนเชิงวิชาการ ก. การเขียนบันทึก ข
๑. งานเขียนข้อใด ไม่ใช่ การเขียนเชิงวิชาการ ก. การเขียนบันทึก ข. รายงานการวิจัย ค. รายงานการทดลอง ง. สารคดีเชิงวิชาการ
14
๒. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข
๒. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข. กำหนดจุดมุ่งหมาย ค. เลือกหัวข้อรายงาน ง. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
15
๓. การกำหนดว่าจะเขียนเรื่องอะไร เขียนแนว ไหนและประเด็นใด จัดอยู่ในขั้นตอนใดของ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข. เลือกหัวข้อรายงาน ค. กำหนดจุดมุ่งหมาย ง. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
16
๔. ภาคผนวกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ควรจะแสดงข้อมูลในข้อใด ก
๔. ภาคผนวกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ควรจะแสดงข้อมูลในข้อใด ก. บอกลำดับเนื้อหา ข. สารบัญภาพ ค. รายละเอียดในการลำดับเนื้อหา ง. แสดงจุดประสงค์ในการเขียนรายงาน
17
๕. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ก. ข้อมูลจากการสังเกต ข
๕. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ก. ข้อมูลจากการสังเกต ข. ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ค. ข้อมูลจากการทดลอง ง. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์วิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น
18
ได้กี่ข้อจ๊ะเด็กๆ
19
การอ้างอิงในเนื้อหา
20
การอ้างอิงในเนื้อหา ๑. การใช้ อัญประกาศ ( “ ” ) เป็นการ ยกคำพูดหรือคัดลอกข้อความจากต้นฉบับของเอกสารหรือข้อเขียนของผู้อื่นมาอ้างอิงโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ แล้วอ้างอิงโดยใช้ระบบ นามปี
21
ตัวอย่าง
22
ตัวอย่าง บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 122) ได้อธิบายว่า หมายถึง วิธีการที่ครูจัดกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ คน ให้มีคนเก่ง 1 คน คนอ่อน 1 คน อีก 2 คนมีความสามารถปานกลาง นักเรียน ทุกคนช่วยเหลือกันในการเรียน
23
การอ้างอิงในเนื้อหา ๒. เชิงอรรถอ้างอิง เป็นการบอกที่มาของข้อความที่ยกมาอ้างอิงซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน โดยจะเขียนแยกจากตัวเนื้อเรื่องไว้ใต้เส้นด้านล่าง โดยมีตัวเลขกำกับ
24
ตัวอย่าง
25
การอ้างอิงในเนื้อหา ๓. เชิงอรรถเสริมความ เป็นเชิงอรรถที่อธิบายความเพิ่มเติม โดยจะเขียนคำอธิบายไว้ใต้เส้นด้านล่างเหมือนเชิงอรรถอ้างอิง โดยมีตัวเลขกำกับ
26
ตัวอย่าง
27
การอ้างอิงในเนื้อหา ๔. เชิงอรรถโยง เป็นเชิงอรรถที่อธิบายความเพิ่มเติมอย่างละเอียด โดยคำอธิบายจะอยู่คนละหน้ากับข้อความ ดังนั้นจึงต้องโยงไปหน้าอื่น โดยใช้ตัวเลขกำกับ
28
______________________________ ๑ ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก ข
ตัวอย่าง เชิงอรรถโยง ...ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมจำเป็นต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของกระทรวงอุตสาหกรรม๑ ______________________________ ๑ ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก ข
29
การอ้างอิงในบรรณานุกรม
บรรณานุกรม เป็นแหล่งรวมรายชื่อหนังสือ เอกสาร แหล่งอ้างอิงทั้งหมด ซึ่งแสดงถึงความน่าเชื่อถือของรายงาน
30
แหล่งอ้างอิงต่างๆ มีดังนี้
๑. หนังสือเล่ม คือหนังสือทั่วไป ที่มีชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือชัดเจน ตัวอย่าง
31
หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง • ผู้แต่ง ๑ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่ง แต่ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ชนาธิป สรงกระสินธุ์.
32
ชนาธิป สรงกระสินธุ์ /และธีรศิลป์ แดงดา.
หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๒ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก และชื่อคนที่ ๒ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น หมายเหตุ / แทนการเว้นวรรค ชนาธิป สรงกระสินธุ์ /และธีรศิลป์ แดงดา.
33
ชนาธิป สรงกระสินธุ์, /ธีรศิลป์ แดงดา/และสารัฐ อยู่เย็น.
หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๓ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก,/ ชื่อคนที่ ๒/และชื่อคนที่ ๓ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ชนาธิป สรงกระสินธุ์, /ธีรศิลป์ แดงดา/และสารัฐ อยู่เย็น.
34
ชนาธิป สรงกระสินธุ์ และคณะ.
หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๔ คนขึ้นไป ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก/และคณะ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ผู้แต่งคนแรก / และคณะ. ชนาธิป สรงกระสินธุ์ และคณะ.
35
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ)
นิตยสารหรือวารสาร
36
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ)
หนังสือพิมพ์
37
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ)
กรณีไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้เขียนชื่อเรื่องเป็นลำดับแรก
38
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ)
อ้างอิงจากเว็บไซต์
39
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ)
อ้างอิงจาก ซีดี
40
การเรียงลำดับแหล่งอ้างอิง
๑. เรียงตามหลักพจนานุกรม ยึดอักษร ก – ฮ ๒. เรียงชื่อผู้แต่งคนไทยก่อนต่างชาติ ๓. อ้างอิงภาษาไทยแยกจากภาษาอังกฤษ ใช้ภาษาไทยขึ้นก่อน
41
ตัวอย่าง
42
แบบทดสอบ การเขียนบรรณานุกรม
ชุด ก ชุด ข ชุด ค
43
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
เฉลย (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. ภาพพิมพ์. สุวิทย์ มูลคำ. กรุงเทพมหานคร : ชิต บุรทัต. สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. องค์การค้าของคุรุสภา. (๒๕๔๑). กรุงเทพมหานคร : พินิจวรรณาการ. แม่คำฝาง. นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๔๒). กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครั้งที่ ๓๔.
44
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
ชื่อหนังสือ ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ ชื่อผู้แต่ง สุวิทย์ มูลคำ พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ 2545 โรงพิมพ์ ภาพพิมพ์ สถานที่พิมพ์ กรุงเทพมหานคร
45
เฉลย สุวิทย์ มูลคำ. (2545). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ.
สุวิทย์ มูลคำ. (2545). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.
46
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
ชื่อหนังสือ สามัคคีเภทคำฉันท์. ชื่อผู้แต่ง ชิต บุรทัต และพิยะดา เหล่าสุนทร พิมพ์ครั้งที่ 34 ปีที่พิมพ์ 2551 โรงพิมพ์ องค์การค้าของคุรุสภา สถานที่พิมพ์ กรุงเทพมหานคร
47
เฉลย ชิต บุรทัต และพิยะดา เหล่าสุนทร. (2551). สามัคคีเภทคำฉันท์.
พิมพ์ครั้งที่ 34. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของ คุรุสภา.
48
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
ชื่อเว็บไซต์ ชื่อผู้แต่ง วัศยา การวี ชื่อเรื่อง วาเลนไทน์ ปีที่ลงข้อมูล 2557 วันที่ค้นข้อมูล 3 กุมภาพันธ์ 2558
49
เฉลย วัศยา การวี. (2557). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
วัศยา การวี. (2557). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (วันที่ค้นข้อมูล : 3 กุมภาพันธ์ 2558).
50
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
(๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. ภาพพิมพ์. สุวิทย์ มูลคำ. กรุงเทพมหานคร : ชิต บุรทัต. สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. องค์การค้าของคุรุสภา. (๒๕๔๑). กรุงเทพมหานคร : เฉลย
51
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
เฉลย (๒๕๔๖). อักษรเจริญทัศน์. ปรานนท์ เชียงรัตน์. กรุงเทพมหานคร : ชวนกันเรียน. วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. วัศยา การวี. (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘). เข้าถึงได้จาก : (๒๕๕๕). การเล่นหุ้น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗). (๒๕๕๖). พริบพราว สกาวแสง.
52
เฉลยทดสอบเขียนบรรณานุกรม
กลับ ชิต บุรทัต. (๒๕๔๑). สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา. นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๔๒). พินิจวรรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : แม่คำฝาง. สุวิทย์ มูลคำ. (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.
53
เฉลยทดสอบเขียนบรรณานุกรม
ชิต บุรทัต. (๒๕๔๑). สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา. สุวิทย์ มูลคำ. (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์. กลับ
54
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม
กลับ ปรานนท์ เชียงรัตน์. (๒๕๔๖). ชวนกันเรียน. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. พริบพราว สกาวแสง. (๒๕๕๖). การเล่นหุ้น. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗). วัศยา การวี. (๒๕๕๕). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘).
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.