ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพยาบาลนิติจิตเวช โดย อ. นิตยา ศรีจำนง
2
วัตถุประสงค์ 1. บอกแนวคิดเกี่ยวกับ การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช
ที่มีปัญหาทางนิติจิตเวชได้ 2. บอกบทบาทของพยาบาล ที่เกี่ยวของกับนิติจิตเวชได้ 3. บอกกระบวนการ ทางนิติจิตเวชได้ 4. ระบุกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ นิติจิตเวชได้
3
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
บำบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพจิตใจ พยาบาล ติดตามผลการรักษา พิทักษ์สิทธิ์ของผู้ป่วย
4
การกระทำอันเป็นความผิด โดยมีเจตนาในการกระทำความผิด
การพิจารณาคดี การกระทำอันเป็นความผิด โดยมีเจตนาในการกระทำความผิด ถ้าวิกลจริตจริงและไม่มีเจตนา จะไม่มีความผิดในทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา
5
ขั้นตอนการวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
1. พิจารณาว่าส่งตัวผู้ป่วยมาเพื่อต้องการทราบอะไร 2. ทีมทำการตรวจอย่างละเอียดได้ 3. รวบรวมข้อมูลเป็น 2 ส่วน คือ คดี กับความเจ็บป่วย 4. วิเคราะห์วินิจฉัยจาก การประชุมร่วมกัน 5. สรุป 6. เตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
6
หลักการพิจารณาความสามารถในการต่อสู้คดี
1. รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร 2. รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ 3. สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้ 4. สามารถเข้าใจขั้นตอนของการดำเนินคดี 5. สามารถให้ปากคำต่อกระบวนการยุติธรรมได้ 6. สามารถร่วมมือกับทนายในการปกป้องสิทธิ ของตนได้
7
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวชรักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตทุเลา อาการไม่ทุเลา แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ ส่งกลับสู่กระบวนการยุติธรรม
8
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
ส่งกลับสู่กระบวนการยุติธรรม ลดโทษ/ปล่อยตัว( ตามมาตรา 65 )/ ส่งกลับมารักษาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
9
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 14 ในระหว่างทำการสอบสวนไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริต และไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลแล้วแต่กรณีสั่งให้พนัก งานแพทย์ตรวจผู้นั้นเสร็จแล้วให้เรียกพนักงานแพทย์ ผู้นั้นมาให้ถ้อยคำหรือให้การว่าตรวจได้ผลประการใด
10
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 65 ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษความผิดนั้น แต่ถ้ากระทำความผิดยังสามารถรู้ชอบอยู่บ้างหรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้นั้นต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น แต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด
11
การพิจารณาความผิดทางอาญา
ขณะประกอบคดี ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่รู้ว่าการกระทำของตัวเองถูกหรือผิด ดีหรือชั่ว ควรหรือไม่ควร ไม่สามารถรู้ชอบ
12
การพิจารณาความผิดทางอาญา
ขณะประกอบคดี ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่สามารถห้ามจิตใจมิให้ร่างกายให้กระทำการนั้นได้ อันเกิดจาก โรคจิต จิตบกพร่อง หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สามารถ บังคับตนเองได้
13
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 14 ในระหว่างทำการสอบสวนไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริต และไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลแล้วแต่กรณีสั่งให้พนัก งานแพทย์ตรวจผู้นั้นเสร็จแล้วให้เรียกพนักงานแพทย์ ผู้นั้นมาให้ถ้อยคำหรือให้การว่าตรวจได้ผลประการใด
14
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
ถ้าศาลเห็นว่าการปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ซึ่งไม่ต้องรับโทษหรือได้รับการลดโทษตามมาตรา65 จะเป็นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะสั่งให้ส่งตัวไปควบคุมไว้ในสถานพยาบาลก็ได้และคำสั่งนี้ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 48
15
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
มาตรา 49 มาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 มาตรา 66 มาตรา 95 ประมวลกฎหมายอาญา
16
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
มาตรา 246 มาตรา 248 มาตรา 269 มาตรา 297 มาตรา 307 มาตรา 323 มาตรา 373 ประมวลกฎหมายอาญา
17
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติจิตเวช
ป.พ.พ. มาตรา 29 ป.พ.พ. มาตรา 30 ป.พ.พ. มาตรา 31 ป.พ.พ. มาตรา 32 ป.พ.พ. มาตรา 429 ป.พ.พ. มาตรา 430 ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
18
จริยธรรม ความสำคัญ สิ่งที่ควรประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีงาม
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น หมู่คณะและสังคม ซึ่งมาจากการได้คิด วิเคราะห์ใคร่ครวญและเลือกสรรปฏิบัติ ความสำคัญ จริยธรรมเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของวิชาชีพการพยาบาล ซึ่งเป็นวิชาชีพที่ปฏิบัติต่อผู้มีชีวิต ในการตัดสินใจแต่ละครั้งมี ผลกระทบเกิดขึ้นหลายด้าน ดังนั้นการมีจรรยาบรรณวิชาชีพจะ ช่วยเป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
19
กรณีปัญหาทางจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
พยาบาลเป็นผู้กระทำเอง 1. กระทำโดยตั้งใจ 2. กระทำโดยไม่ตั้งใจ 3. จากปัจจัยอื่นๆ เกิดในหลายลักษณะ เช่น 1. การเคารพคุณค่าลดลง 2. ไม่ยอมรับผู้ป่วยในสภาพที่เป็นอยู่ 3. ความไวในการรับรู้ความต้องการของผู้ป่วยลดลง 4. ไม่สามารถรักษาความลับของผู้ป่วย 5. การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมในการตัดสินใจบกพร่อง
20
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจริยธรรมวิชาชีพ
หลายสถานการณ์ ที่อาจทำให้จริยธรรมของพยาบาลในการปฏิบัติงานเสื่อมเสียในพฤติกรรมด้านต่างๆได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความเมตตา กรุณา ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความอดทนและอื่นๆ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจริยธรรมวิชาชีพ ค่านิยมของรูปแบบบริการสุขภาพ ธุรกิจ ค่านิยมของรูปแบบการพยาบาล หน้าที่ ความคาดหวังของผู้ป่วยสูง เรียกร้อง และคอยจับผิด พยาบาลศรัทธาและให้คุณค่าในอาชีพต่ำ หน่วยงาน ระบบบริหารทำให้ขาดขวัญและกำลังใจ ทัศนคติผู้ร่วมงาน การยอมรับ การให้เกียรติและความร่วมมือ
21
ผ่านมาพบเหตุการณ์จึงเข้าขวางเอาเท้าขัดขาผู้ป่วย
กรณีตัวอย่าง 1. ผู้ป่วยพยายามหนีออกจาก โรงพยาบาลพยาบาล จับผู้ป่วยไว้ในห้องแยกสักครู่พบว่า ผู้ป่วยแขวนคอ ตนเองในห้องแยก แต่ช่วยได้ทัน 2. ผู้ป่วยหนีพยาบาลพยายามตามเรียก เจ้าหน้าที่เดิน ผ่านมาพบเหตุการณ์จึงเข้าขวางเอาเท้าขัดขาผู้ป่วย ล้มลง ผลผู้ป่วยบาดเจ็บ
22
แนวทางการพัฒนา 1. ต้องรู้จริยธรรมพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ของตนเอง
2. ต้องยึดมั่นในจริยธรรมแห่งวิชาชีพ 3. มีสัจจะที่จะสำรวจตนเองกับเกณฑ์ของจริยธรรมและ คุณธรรมของสังคม 4. ยอมรับคำติชมอย่างสงบและเข้าใจ 5. ละทิ้งสิ่งที่ไม่ถูกต้องหรือแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น 6. สร้างกัลยาณมิตรเพื่อตรวจสอบ 7. สร้างเสริมสิ่งที่ยังไม่มีและที่จำเป็นให้เกิดขึ้น
23
thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.