ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ข้อควรระวัง และการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น
สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ เภสัชกรหญิง ศุณิชา ลิ้มกอปรไพบูลย์
2
ยาที่ควรระวังในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ความดัน (Beta-blocker) เบาหวาน (Sulfonyl urea ระวังน้ำตาลในเลือดต่ำ) โรคไต (ควรระหว่างการใช้ยาที่ขับออกทางไต)
3
ยาที่ควรระวังหรือห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคไต
4
อัตรกิริยา (Interaction)
อัตรกิริยาระหว่างยากับอาหาร (Food-drug interaction) อัตรกิริยาระหว่างยา (Drug-drug interaction)
5
อันตรกิริยาระหว่างยา
CYP P450 เป็นเอนไซม์ในร่างกายที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา ทำให้ยาส่วนใหญ่อยู่ในสภาพที่ไม่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และพร้อมจะถูกขับออกจากร่างกาย มีหลาย isoenzyme เช่น CYP3A4 CYP2D6 CYP2C9 CYP2C19 CYP3A4 มีจำนวนมากที่สุดและทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยาได้มากชนิดที่สุด (ร้อยละ 50)
6
CYP3A4 Enzyme Induction Enzyme inhibition
ระดับยาในเลือดลดลง (Under dose) ทำให้ระดับยาในเลือดเพิ่มขึ้น (Toxicity) Anticonvulsant (Carbamazepine Phenobarbital Phenytoin) Macrolide (Clarithromycin Erythromycin) Anti-TB drug (Rifampicin Rifabutin) Azole (Ketoconazole Itraconazole) NNRTIs Antiviral (Efavirenz Nevirapine) PIs Antiviral (Ritonavir Atazanavir) Dexamethasone Diltiazem Troglitazone Amiodarone
7
แหล่งข้อมูล
8
Simvastatin VS Itraconazole
9
Contraindication
10
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อจากยา
Myopathy ความผิดปกติใดๆของกล้ามเนื้อที่สัมพันธ์กับยา Myalgia มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อ CPK ปกติ Myositis ผิดปกติกล้ามเนื้อ + CPK ในเลือดสูงขึ้นกว่าค่าปกติสูงสุด Rhabdomyolysis มีการทำลายกล้ามเนื้อลายอย่างเฉียบพลันและรุนแรง มีค่า CPK เพิ่มสูงสุดอย่างน้อย 10 เท่า และร่วมกับมีอาการแสดง เช่น ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่มา: ตรงประเด็น เรื่อง Adverse drug reaction
11
Antibiotic VS ยาคุมกำเนิด
Antibiotic บางชนิดสามารถรบกวนกระบวนการเปลี่ยนสภาพของ Ethinylestradiol และ Progestogen ทำให้ระดับยาคุมกำเนิดลดลง การเหนี่ยวนำการทำงานของ CYP P450 ที่เปลี่ยนสภาพยา Ethinylestradiol และ Progestogen รบกวนกระบวนการ Enterohepatic circulation ของ ethinylestradiol 1.การเหนี่ยวนำการทำงานของ CYP P450 ที่เปลี่ยนสภาพยา Ethinylestradiol และ Progestogen มีรายงานการเกิดเลือดออกระหว่างรอบเดือน Breakthrough bleeding ในผู้หญิงที่ใช้ยาคุมกำเนิดร่วมกับ Rifampin กลไกเกิดจาก rifampicin กระตุ้นการทำงานของ CYP ชัดเจน ส่งผลให้ระดับยา Ethinylestradiol และ Progestogen ลดลงอย่างชัดเจน 2. รบกวนกระบวนการ Enterohepatic circulation ของ ethinylestradiol การใช้ยาต้านจุลชีพ จะยับยั้งหรือทำลายเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหารที่ทำหน้าที่ในกระบวนการ Enterohepatic circulation ของ ethinylestradiol ทำให้กระบวนการ Enterohepatic circulation เกิดขึ้นน้อยลงทำให้มี ethinylestradiol ในรูปเดิมกลับคืนมาน้อยลง
12
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
ใช้วิธีคุมกำเนิดแบบอื่นร่วมด้วยในระหว่างที่จำเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพเช่น ใส่ถุงยางอนามัย ใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มอื่นที่ให้ผลการรักษาใกล้เคียงกันและมีรายงานการเกิดปฏิกิริยากับยาคุมกำเนิดน้อยกว่า เช่นกลุ่ม Macrolide หรือกลุ่ม Quinolone
13
แนะนำแหล่งความรู้
14
หลักการใช้ยาที่มีรูปแบบพิเศษ
ให้ยาในรูปแบบน้ำ เป็นหลักการที่เหมาะสมที่สุด บางครั้งอาจต้องมีการปรับขนาดยาด้วย พิจารณาผสมยาในแคปซูลในอาหารเหลวโดยพิจารณาจากข้อมูลและคุณสมบัติของยาแต่ละตัว พิจารณาเปลี่ยนเป็นยาที่แทนกันได้ในการรักษา เช่นเปลี่ยนจาก extended-release เป็น immediate release ของตัวยาเดียวกัน แต่ต้องปรับเปลี่ยน regimen ด้วย
15
ยาที่ห้ามแบ่ง บด เคี้ยว หรือทำให้เม็ดยาแตก
รูปภาพยา ชื่อการค้า ชื่อสามัญ Xatral XL® tablet Alfuzocin Diamicron MR® tablet Gliclazide Plendil® tablet Felodipine Adalat CR tablet Nifedipine
16
ยาที่หักแบ่ง แกะแคปซูลได้ แต่ห้าม บด เคี้ยว หรือทำให้เม็ดยาแตก
รูปภาพ ชื่อการค้า ชื่อสามัญ Tegretol CR® tablet Carbamazepine Herbesser SR® capsule Diltiazem Nuelin SR® tablet Theophylline Miracid® capsule Omeprazole
17
Dilantin 100 mg 50 mg รูปแบบออกฤทธิ์เนิ่น (ห้ามแบ่งหรือบดยา)
รับประทานเพียงวันละครั้ง คุมอาการชักได้ตลอดทั้งวัน ไม่ควรนำมาแกะแบ่ง Capsule เพราะจะทำให้รูปแบบยาเสียไป 50 mg ชนิดออกฤทธิ์ทันที รับประทานทุก 8 ชั่วโมง เหมาะกับการให้ยาทางสายยาง ต้องมีการปรับแผนการรักษาใหม่และตรวจติดตามวัดเหมาะกับการให้ยาทางสายยาง
18
หลักการทั่วไปในการบริหารยาผ่านสายยาง
มียานั้นในรูปแบบยาน้ำหรือไม่ มี ให้ยาในรูปแบบยาน้ำ เจือจางยาด้วยน้ำอย่างน้อย 30 มล. เพื่อลด Osmolality ไม่มี รูปแบบยาที่มีในสถานพยาบาล แกะเปลือกแคปซูลออกแล้วและนำผงยามาละลายน้ำ มล. เจาะแคปซูลแล้วบีบ เอาตัวยาออกมา หรือ ละลายแคปซูลในน้ำอุ่น มล.แล้วเอาเปลือกแคปซูลออก มียาเม็ดที่สามารถ นำมาบดได้หรือไม่ ไม่มี ให้เลือกบริหารยา ด้วยวิธีอื่น เช่น ยาฉีด มี นำเม็ดยามาบดให้เป็นผงแล้วผสมน้ำ มล. ยาที่จะเกิดปฏิกิริยากับอาหารหรือยาอื่นที่ให้ร่วมกันได้หรือไม่ Flush สายยางด้วยน้ำอย่างน้อย มล.ก่อนละหลังบริหารยาแต่ละตัว ไม่มี ให้ยาแต่ละตัว/อาหารห่างกันอย่างน้อย 2 ชั่วโมง และให้ Flush สายยางด้วยน้ำอย่างน้อย มล. ก่อนและหลังการให้ยาแต่ละตัว ที่มา ยาที่ห้ามบด เคี้ยว หรือทำให้เม็ดยาแตก และการให้อาหารทางสายยาง (ชลลดา โสภารัตน์) คู่มือการใช้ยาสำหรับบุคลากรทางสาธารณสุข
19
HRH Prince Mahidol of Songkla
20
Simvastatin VS Roxithromycin
21
No drug interaction
22
Buscopan VS Domperidone
23
No drug interaction
24
Zidovudine VS Ciprofloxacin
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.