งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางปฏิบัติในการเบิกค่าเช่าบ้าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางปฏิบัติในการเบิกค่าเช่าบ้าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางปฏิบัติในการเบิกค่าเช่าบ้าน

2 ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้าน ของข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้าน ของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ (มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๑)

3 ปี 48 ข้อ 6 ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใดได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำสำนักงาน ในต่างท้องที่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านเท่าที่จ่ายจริงตามสมควรแก่สภาพแห่งบ้าน แต่อย่างสูงไม่เกินจำนวนเงินที่กำหนดไว้ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ ท้ายระเบียบนี้ ทั้งนี้ เว้นแต่ผู้นั้น (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดที่พักอาศัยให้อยู่แล้ว (2) มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเองหรือคู่สมรสในท้องที่ที่ ไปประจำสำนักงานใหม่ โดยไม่มีหนี้ค้างชำระกับสถาบันการเงิน (๓) ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำสำนักงานใหม่ในท้องที่ที่เริ่ม รับราชการครั้งแรกหรือท้องที่ที่กลับเข้ารับราชการใหม่

4 ปี 51 ข้อ 6 ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใดได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำสำนักงาน ในต่างท้องที่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านเท่าที่จ่ายจริงตามสมควรแก่สภาพแห่งบ้าน แต่อย่างสูงไม่เกินจำนวนเงินที่กำหนดไว้ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ ท้ายระเบียบนี้ ทั้งนี้ เว้นแต่ผู้นั้น (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดที่พักอาศัยให้อยู่แล้ว (2) มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเองหรือคู่สมรสในท้องที่ที่ ไปประจำสำนักงานใหม่ โดยไม่มีหนี้ค้างชำระกับสถาบันการเงิน ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ได้รับคำสั่ง ให้เดินทางไปประจำสำนักงานในต่างท้องที่เป็นท้องที่ที่เริ่มรับราชการ ครั้งแรกหรือท้องที่ที่กลับเข้ารับราชการใหม่ด้วย

5 ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
ข้าราชการ อบจ. พนักงานเทศบาล ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พนักงานส่วนตำบล (อบต)

6 อำเภอ ท้องที่ กิ่งอำเภอ

7 ตัวอย่าง บรรจุครั้งแรกที่อำเภอ ก. ต่อมาย้ายไปภายใน อำเภอ ก. จะมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านได้ไหม ?

8 ไม่มีสิทธิเพราะมีบ้านเป็นกรรมสิทธิ์แล้ว
- ถ้าไม่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านเนื่องจากมีบ้านเป็นกรรมสิทธิ์ ของตนเองหรือคู่สมรส หากได้จำหน่ายจ่ายโอนไปให้ผู้อื่นก็ ไม่เกิดสิทธิ แต่ถ้าบ้านเกิดภัยพิบัติก็จะเกิดสิทธิ ข้อ 7

9 เมื่อมีสิทธิจะใช้สิทธิได้อย่างไร?
ใช้สิทธิได้ 3 วิธี คือ  เบิกค่าเช่าบ้าน  เบิกค่าเช่าซื้อ  นำค่าผ่อนชำระเงินกู้มาเบิกค่าเช่าบ้าน

10  มีสิทธิตั้งแต่ได้เช่าอยู่จริง แต่ไม่ก่อนวันรายงานตัว
ข้อ 12 สิทธิเกิดเมื่อใด?  มีสิทธิตั้งแต่ได้เช่าอยู่จริง แต่ไม่ก่อนวันรายงานตัว

11 ตัวอย่าง ๑. รายงานตัววันที่ ๑ แต่เช่าบ้านวันที่ ๑๐ สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านคือวันที่ ๑๐ เช่าจริงอยู่จริง ๒. รายงานตัววันที่ ๑๐ แต่เช่าบ้านวันที่ ๑ สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านคือวันที่ ๑๐ แต่ไม่ก่อนวันรายงานตัว

12 การเช่าบ้าน ไม่จำเป็นต้องย้ายชื่อไปอยู่ในทะเบียนบ้าน หลังที่เช่า
 จะเช่าอยู่ต่างท้องที่ที่ทำงานก็ได้  เช่าบ้านใครก็ได้รวมทั้งพ่อแม่ พ่อแม่คู่สมรส แต่ต้องเช่าจริงอยู่จริง  ไม่จำเป็นต้องเช่าทั้งหลัง  สัญญาเช่าควรทำอย่างน้อย 3 ปี

13 หลักในการเช่าบ้านพ่อบ้านแม่
1. ต้องมีสิทธิ 2. ต้องไม่ใช่บ้านตนเอง หรือคู่สมรส 3. ต้องเช่าจริงอยู่จริง ตัวอย่าง กรณีเดิมเคยอยู่อาศัย แต่ทำนิติกรรมอำพราง ไม่ได้เช่าจริงอยู่จริง สัญญาเช่าบ้านก็ทำเอง ใบเสร็จก็ทำเอง ไม่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน

14 ตัวอย่าง เช่าบ้าน อยู่อำเภอ ก. มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน แต่ไปเช่าบ้านอยู่อำเภอ ข. ได้หรือไม่ ?

15 การเช่าซื้อ กับสถาบันการเงิน
 บ้านที่นำมาใช้สิทธิต้องอยู่ในท้องที่ที่ทำงาน  เช่าซื้อหรือผ่อนชำระเงินกู้เพื่อชำระราคาบ้าน กับสถาบันการเงิน

16 สถาบันการเงิน - ธนาคาร - รัฐวิสาหกิจ - สหกรณ์
จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย มีวัตถุประสงค์เพื่อการเคหะ

17 ตัวอย่าง เช่าซื้อ

18 การเช่าซื้อ - ในท้องที่หนึ่งเบิกได้หลังแรกหลังเดียว
ข้อ 14 (1) - ในท้องที่หนึ่งเบิกได้หลังแรกหลังเดียว เว้นแต่เกิดภัยพิบัติ

19 การเช่าซื้อ ถ้าใช้สิทธินำค่าผ่อนชำระเงินกู้มาเบิกค่าเช่าบ้าน
หากได้จำหน่ายจ่ายโอนไปให้ผู้อื่นก็ หมดสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านทันที แต่ถ้าบ้านเกิดภัยพิบัติ สามารถเช่าบ้าน หรือซื้อบ้านหลังใหม่ได้

20 ภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติหรือความเสียหายที่เกิดขึ้น
ข้อ 4 ภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติหรือความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยผู้ได้รับความเสียหายไม่มีส่วนจะต้องรับผิดชอบ

21 การเช่าซื้อ ข้อ 15 - นำค่าผ่อนชำระในท้องที่เดิม
ไปเบิกในท้องที่ใหม่ได้ หรือจะเช่าบ้านหรือ ซื้อบ้านในท้องที่ใหม่แล้วนำมาเบิกก็ได้ (ต้องเข้าเงื่อนไข ๒ ไม่) - ถ้าผ่อนหมดก็สามารถใช้สิทธิเช่าบ้าน หรือซื้อบ้านได้อีก

22 ข้อ 15 ข้าราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งได้ใช้สิทธินำ
หลักฐานการชำระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชำระเงินกู้ เพื่อชำระราคาบ้านมาเบิกค่าเช่าบ้านตามข้อ 13 และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ไปรับราชการในท้องที่อื่น ซึ่งตนมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบนี้ให้ข้าราชการ ส่วนท้องถิ่นผู้นั้นมีสิทธินำหลักฐานการชำระค่าเช่าซื้อ หรือค่าผ่อนชำระเงินกู้เพื่อชำระราคาบ้านในท้องที่ เดิมมาเบิกค่าเช่าบ้านในท้องที่ใหม่ได้

23 มีสิทธิและมีคู่สมรส  รับราชการในท้องที่เดียวกัน
และต่างก็มีสิทธิให้เลือกว่าใครจะใช้สิทธิ (ได้คนเดียว)  อยู่คนละท้องที่ก็ให้ต่างคนต่างใช้สิทธิ

24 ตัวอย่าง ปลัดคนหนึ่งอยู่อำเภอ ก ? สามีภรรยาบรรจุครั้งแรก……………….?

25 การเช่าซื้อ ข้อ 14 อีกคนหนึ่งมีสิทธิก็นำหลักฐานไปเบิกได้
 คู่สมรสกัน ไม่จำเป็นต้องกู้ร่วมคนใดคนหนึ่งกู้ อีกคนหนึ่งมีสิทธิก็นำหลักฐานไปเบิกได้

26 ตัวอย่าง 1 1. หญิงสาวคนหนึ่งบรรจุที่ อำเภอ ก ? 2. หญิงสาวคนหนึ่งบรรจุที่ อำเภอ ก ? ตัวอย่าง 2 1. หญิงสาวคนหนึ่งบรรจุ ก ?

27 การเช่าซื้อ เช่น ส่งเดือนละ 5,000 บาท ตามกฎหมาย
- หากกู้ร่วมกับผู้อื่นที่ไม่ใช่คู่สมรส ให้นำใบเสร็จ ที่ผ่อนชำระหารสอง เหลือเท่าไรให้เบิกได้ ตามบัญชีท้ายระเบียบ เช่น ส่งเดือนละ 5,000 บาท ตามกฎหมาย ถือว่าส่งคนละ 2,500 บาท ถ้าสิทธิเบิกได้ 3,000 บาท ก็เบิกได้แค่ 2,500 บาท ถ้าสิทธิเบิกได้ 2,000 บาท ก็เบิกได้แค่ 2,000 บาท

28 ตัวอย่าง เป็นแฟนกัน ยังไม่ได้แต่งงาน ยังไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน กรรมสิทธิ์ร่วมกัน

29 การเช่าซื้อ - การใช้สิทธิให้ใช้ได้ภายในวงเงินหรือเวลา
ตามสัญญาฉบับแรก อะไรหมดก่อน ก็หมดสิทธิเบิกในท้องที่นั้น

30 ตัวอย่าง ๑. สัญญาฉบับแรก วงเงิน ๗๐๐,๐๐๐ บาท ระยะเวลา ๒๕ ปี (ธ.อาคารสงเคราะห์) ๒. สัญญาฉบับที่ ๒ ให้วงเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ระยะเวลา ๓๐ ปี (ธ.กรุงไทย)

31 การเช่าซื้อ - กรณีติดหนี้ไม่ส่ง 3 งวด ๆ ละ 5,000 บาท
เดือนที่สี่ มีเงินไปจ่าย 20,000 บาท ถ้าใบเสร็จออกมา รวม 20,000 บาท จะเบิกได้แค่เดือนเดียว ถ้าจะเบิกสี่เดือน ต้องให้แจงรายละเอียดเป็นสี่เดือน

32 หลักเกณฑ์การจัดบ้านพัก
หลักในการจัดบ้านพัก 1. ผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีอำนาจจัดที่พัก 2. เป็นผู้มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน 3. เรียงลำดับจาก c มากลงไป 4. คนที่บรรจุครั้งแรกหรือคนที่ไม่มีสิทธิ ได้รับค่าเช่าบ้าน ที่ มท /ว954 ลว. 21 มี.ค. 2550 หลักเกณฑ์การจัดบ้านพัก

33 หลักในการจัดบ้านพัก (ต่อ)
5. ถ้าเช่าบ้านอยู่แล้วเบิกค่าเช่าบ้าน ถ้ามีบ้านพักว่างสามารถจัดให้อยู่ได้ จะอยู่หรือไม่อยู่ก็หมดสิทธิเบิก 6. ถ้านำค่าผ่อนชำระเงินกู้มาเบิกค่าเช่าบ้าน อยู่ก่อนแล้วถ้าบ้านพักว่าง ไม่ต้องจัดให้อยู่ หรือถ้าจัดให้อยู่ก็ปฏิเสธได้ และให้มีสิทธิ เบิกค่าเช่าบ้านต่อไป

34 หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
การยื่นขอเบิกเงิน - ยื่นแบบคำขอรับค่าเช่าบ้าน (แบบ 6005) - ต่อผู้รับรองการใช้สิทธิ พร้อมด้วย สัญญาเช่าบ้าน สัญญาเช่าซื้อ สัญญาเงินกู้เพื่อชำระราคาบ้าน หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง ที่ มท /ว296 ลว. 25 ม.ค. 2550 หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย

35 ผู้รับรองการใช้สิทธิ
หัวหน้าหน่วยงาน(ระดับ 6 ขึ้นไป) ไม่สูงกว่าระดับ 6 ผู้บังคับบัญชาเหนือหนึ่งระดับ หัวหน้าหน่วยงาน ระดับ สิทธิของตนเอง

36 การอนุมัติ ผู้มีอำนาจอนุมัติ ผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ผู้มีอำนาจอนุมัติ ผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย แต่งตั้งคณะกรรมการ (๓ คน) ตรวจสอบข้อเท็จจริง (เช่าอยู่จริง,อัตราคาเช่า,วงเงินกู้) ทำรายงานการตรวจสอบ

37 การเบิกจ่ายเงิน - ยื่นแบบ 6006 - หลักฐานการชำระเงิน
- เบิกจ่ายจากงบประมาณประจำปี ที่ได้รับแบบ (แบบ 6006) - ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นแนบคำสั่งเลื่อนเงินเดือน

38 การเบิกจ่ายเงิน (ต่อ)
- ไม่จำเป็นต้องเบิกทุกเดือน - รวมเบิกหลายเดือนได้ - เบิกข้ามปีงบประมาณได้

39 กรณีต้องยื่นแบบ ๖๐๐๕ ใหม่ ย้ายไปต่างสำนักงาน เปลี่ยนแปลง สัญญา

40 ข้าราชการอื่นโอนมาเป็นข้าราชการท้องถิ่น
ตัวอย่าง นาง ค. รับราชการครั้งแรกที่โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ และโอน (ย้าย) มาสังกัดกรมราชทัณฑ์ เรือนจำจังหวัดเพชรบุรี ต่อมาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2545 ได้ย้ายตามคำร้องของตนเองไปปฏิบัติหน้าที่ที่เรือนจำจังหวัดตาก ในท้องที่อำเภอเมืองตาก และแม้ต่อมาได้โอนย้ายมาเป็นพนักงานเทศบาลเมืองตาก ซึ่งอยู่ในท้องที่อำเภอเมืองตาก นาง ค. จะมีสิทธิได้รับ ค่าเช่าบ้านหรือไม่ ที่ มท ๐๔๐๗/ว ๑๔ ลว ๖ ม.ค. ๒๕๓๑

41 มีข้อสงสัยโทร ๐ - ๒๒๔๑-๙๐๐๐ ต่อ ๑๕๒๓-๑๕๒๔


ดาวน์โหลด ppt แนวทางปฏิบัติในการเบิกค่าเช่าบ้าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google