งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่3 สมาชิก 1.นายทศพล อนุกูล เลขที่ 2 ม.5/6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่3 สมาชิก 1.นายทศพล อนุกูล เลขที่ 2 ม.5/6"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่3 สมาชิก 1.นายทศพล อนุกูล เลขที่ 2 ม.5/6
2.นายเมธี กำแพงทอง เลขที่ 3 ม.5/6 3.นายขจรศักดิ์ แดงน้อย เลขที่ 4 ม.5/6 4.นายกวีวุธ ดวงแก้ว เลขที่ 5 ม.5/6 5.นายทรงวุฒิ ประเสริฐแช่ม เลขที่ 7 ม.5/6

2 ระบบดาวฤกษ์และมวลของดาวฤกษ์

3 ระบบดาวฤกษ์ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์เดี่ยวที่มีบริวารซึ่งไม่ใช่ดาวฤกษ์ ดาวซีรีอัสเป็นดาวคู่ คือระบบดาวฤกษ์ 2 ดวง เคลื่อนรอบซึ่งกันและกันด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวแอลฟาเซนเทารีเป็นดาวฤกษ์3ดวง ประกอบไปด้วย ดาวแอลฟาเซนเทารี เอ และดาวแอลฟาเซนเทารี บี เคลื่อนรอบซึ่งกันและกัน รอบละ 80ปี ในขณะที่ดาวแอลฟาเซนเทารี ซี เคลื่อนรอบ 2 ดวงแรกรอบละประมาณ 50 ล้านปี ดาวแอลฟาเซนเทารี ซี คือดาวฤกษ์ที่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุด โดยอยู่ห่างเป็นระยะทางประมาณ 4 ปีแสง

4 แอลฟาเซนเทารี

5 ระบบดาวฤกษ์ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์จำนวนมากคือ กระจุกดาว เช่น จุกดาวลูกไก่ ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ที่มีดาวฤกษ์มากกว่าร้อยดวง กระจุกดาวทรงกลมเอ็ม 13 ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์หลายแสนดวง ดาวฤกษ์และกระจุกดาวฤกษ์มักจะอยู่ภายในกาแล็กซีซึ่งเป็นระบบดาวฤกษ์อีกระบบหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่ากระจุกดาวฤกษ์มาก สาเหตุที่เกิดเป็นระบบต่างๆ กัน เพราะเนบิวลาต้นกำเนิดมีปริมาณและขนาดต่างกัน

6 มวลของดาวฤกษ์ มวลเป็นเนื้อสาร ของมวลดาวฤกษ์แต่ละดวงแตกจ่างกัน เพราะเนบิวลาที่ก่อกำเนิดเป็นดาวฤกษ์มีมวลไม่เท่ากัน มวลจึงเป็นสมบัติที่แตกต่างกันของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์มวลมากจะใช้ที่แก่นดาวมากกว่าดาวฤกษ์มวลน้อย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความดันของแก๊สให้สูงขึ้นพอที่จะสมดุลกับแรงโน้มถ่วงซึ่งขึ้นอยู่กับมวลของดาวเท่านั้น ดาวฤกษ์มวลน้อยมีแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าดาวฤกษ์มวลมาก ความดันของแก๊สร้อนในดาวฤกษ์มวลน้อยจึงน้อยกว่า การใช้เชื้อเพลิงที่แก่นดาวต้องน้อยกว่าด้วย

7 ภาพตัวอย่างเนบิวลา

8 นักดาราศาสตร์สามารถมองหามวลของดาวฤกษ์ได้หลายวิธี เช่นในกรณีของดวงอาทิตย์ซึ่งมีบริวารเป็นดาวเคราะห์ สามารถใช้กฎเคปเลอร์ในการหามวลของดวงอาทิตย์ได้เนื่องจากว่าคาบการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์และระยะห่างจากดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์จะมีความสัมพันธ์กับมวลของดวงอาทิตย์ตามกฎเคปเลอร์ ในกรณีของดาวคู่ซึ่งเคลื่อนที่รอบซึ่งกันและกันอาจปรากฏบังกัน การสังเกตแสงจากระบบดาวนี้จะช่วยบอกคาบการเคลื่อนที่ซึ่งกันและกันของดาวฤกษ์คู่นี้ คาบสัมพันธ์กับระยะห่างระหว่างดาวกับมวลรวมของดาวตามกฎเคปเลอร์ จึงใช้กฎนี้หามวลรวมของดาวได้ และถ้าทราบมวลของดาวดวงใดดวงหนึ่งก็สามารถหามวลของอีกดวงหนึ่งได้

9 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่3 สมาชิก 1.นายทศพล อนุกูล เลขที่ 2 ม.5/6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google