ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สิทธิการได้รับบำเหน็จบำนาญ กรณีเป็นสมาชิก กบข.
(พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) เหตุออกจากราชการ เหตุแห่งการรับบำเหน็จบำนาญ ตามที่กฎหมายใช้เรียก เวลาราชการ (อายุราชการ) สิทธิที่จะได้รับ บำเหน็จบำนาญ เงินที่ได้รับจาก กบข. 1. เกษียณอายุตามกฎหมาย (วันสิ้นปีงบประมาณที่อายุตัว ครบ 60 ปี) สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 2. ขอลาออก (เอง) หรือถูกปลดออก 2.1 อายุตัว ไม่ถึง 50 ปี พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.47 10 ปี ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.48 25 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 2.2 อายุตัว 50 ปี ขึ้นไป สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป 3.ออกเพราะ * ยุบเลิกตำแหน่ง * มีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด ทดแทน 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 4.ออกเพราะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และแพทย์ที่ทางราชการรับรอง ได้ตรวจ และแสดงความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะรับราชการ ในตำแหน่งหน้าที่ต่อไปได้ ทุพพลภาพ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์
2
สิทธิการได้รับบำเหน็จบำนาญ กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.
(พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) เหตุออกจากราชการ เหตุแห่งการรับบำเหน็จบำนาญ ตามที่กฎหมายใช้เรียก เวลาราชการ (อายุราชการ) สิทธิที่จะได้รับ บำเหน็จบำนาญ 1. เกษียณอายุตามกฎหมาย (วันสิ้นปีงบประมาณที่อายุตัว ครบ 60 ปี) สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 2. ขอลาออก (เอง) หรือถูกปลดออก 2.1 อายุตัว ไม่ถึง 50 ปี พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.47 10 ปี ขึ้นไป บำเหน็จ พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.48 25 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 2.2 อายุตัว 50 ปี ขึ้นไป สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 3.ออกเพราะ * ยุบเลิกตำแหน่ง * มีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด ทดแทน 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 4.ออกเพราะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และแพทย์ที่ทางราชการรับรอง ได้ตรวจ และแสดงความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะรับราชการ ในตำแหน่งหน้าที่ต่อไปได้ ทุพพลภาพ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้)
3
กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.
เวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ หมายถึง เวลาตั้งแต่ วันแรกที่เริ่มปฏิบัติราชการ โดยได้รับเงินเดือน จนถึงวันสุดท้ายที่ได้รับเงินเดือน โดยหักเวลาราชการที่มิได้รับเงินเดือนออก กรณีที่ประจำปฏิบัติงานในท้องที่ที่มีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ ให้รวม เวลาระหว่างนั้นด้วย และหักด้วยเวลาที่มิได้อยู่ปฏิบัติงานระหว่างนั้น เช่น ลาพักผ่อน ลากิจ ลาป่วย เป็นต้น การนับเวลาราชการ กรณีเป็นสมาชิก กบข. กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. การนับเวลาราชการเพื่อให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี ต้องนับได้ 1 ปีบริบูรณ์ก่อน (ไม่ปัดเศษ) ถ้าไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ การนับเวลาราชการเพื่อให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี ต้องนับได้ 1 ปีบริบูรณ์ก่อน (ไม่ปัดเศษ) ถ้าไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ การนับเวลาราชการเพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี รวมทั้งเศษของปีที่เป็นเดือนและวันด้วย (เวลาปี+เศษของเดือน+เศษของวัน) - ให้นับ 12 เดือน เป็น 1 ปี (เศษของเดือน หารด้วย 12) - ให้นับ 30 วัน เป็น 1 เดือน (เศษของวัน หารด้วย 360) ตัวอย่าง..นับเวลาราชการแล้วได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน = 30 + (10 ÷ 12) + (29 ÷ 360) = เวลาราชการจะเท่ากับ ปี การนับเวลาราชการเพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี เศษของปีถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี โดยนับ 30 วัน เป็น 1 เดือน และ 12 เดือน เป็น 1 ปี ตัวอย่างที่ 1 - นับเวลาราชการได้ 11 เดือน 20 วัน ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ เพราะเวลาราชการไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ตัวอย่างที่ 2 - นับเวลาราชการได้ 30 ปี 5 เดือน 29 วัน กรณีนี้ 29 วัน ปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 30 วัน และ 5 เดือนปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 6 เดือน เวลาราชการจึงนับให้เพียง 30 ปี ตัวอย่างที่ 3 - นับเวลาราชการได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน กรณีนี้ 29 วัน ปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 30 วัน 10 เดือนปัดเป็น 1 ปี เวลาราชการจึงนับรวมเป็น 31 ปี
4
วิธีการคำนวณบำเหน็จบำนาญ
กรกรณีผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ เป็นสมาชิก กบข. กรณีผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ ไม่เป็นสมาชิก กบข. บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย ๖๐ เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ ๕๐ บำนาญปกติที่คำนวณได้ต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 เงินเดือนเดือนสุดท้าย หมายถึง เงินเดือนที่ได้รับจากเงิน งบประมาณเดือนสุดท้ายที่ออกจากราชการ รวมเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน
5
ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จบำนาญ
กรณีเป็นสมาชิก กบข. วิธีคำนวณบำเหน็จ วิธีคำนวณบำนาญ สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ (รวมเศษของเดือนและวันด้วย) ตัวอย่าง- ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ ปี บำเหน็จสมาชิก กบข. = 36,020 X ปี = 1,113, บาท สูตร เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 50 บำนาญที่ได้รับต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ตัวอย่างที่ เงินเดือนเดือนสุดท้าย 39,630 บาท - เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย เท่ากับ 34, บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ ปี บำนาญ กบข. = 34, X 30.91 ผลที่คำนวณได้ , บาท 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 34, X 70 % = 24, บาท บำนาญที่ได้รับ = 21, บาท ตัวอย่างที่ เวลาราชการปกติ +เวลาราชการทวีคูณ ปี บำนาญ กบข. = 34, X 37.91 50 ผลที่คำนวณได้ , บาท 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 34, X 70 % = 24, บาท บำนาญที่ได้รับ = 24, บาท
6
ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จบำนาญ กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.
วิธีคำนวณบำเหน็จ วิธีคำนวณบำนาญ สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ (รวมเศษของเดือนและวันด้วย) ตัวอย่างที่ 1 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย อัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 5 เดือน 29 วัน บำเหน็จปกติ = 36,020 X 30 ปี = 1,080,600 บาท ตัวอย่างที่ ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน บำเหน็จปกติ = 36,020 X 31 ปี = 1,116,620 บาท หมายเหตุ เศษของเดือน ถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี ถ้าไม่ถึง 6 เดือนปัดทิ้ง สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 50 ตัวอย่างที่ 1 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน บำนาญปกติ = ,020 X 31 = 22, บาท หมายเหตุ เศษของปีถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี ตัวอย่างที่ 2 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 52 ปี คำนวณได้ = 36,020 X = 37, บาท 50 บำนาญปกติ = 36,020 บาท หมายเหตุ บำนาญปกติที่ได้รับต้องไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย
7
บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด
บำเหน็จดำรงชีพ คือ การนำบำเหน็จตกทอดจำนวน 15 เท่า ของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกินจำนวน 200,000 บาท มาจ่ายให้กับผู้รับบำนาญในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของผู้รับบำนาญในการดำรงชีพ โดยได้รับยกเว้นภาษี และเมื่ออายุตัวของผู้รับบำนาญครบ 65 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ให้มีสิทธิขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้ในส่วนที่เกินจากการขอรับไปแล้วครั้งแรก แต่ไม่เกิน 400,000 บาท บำเหน็จตกทอด คือ เงินที่รัฐจ่ายให้แก่ทายาทของข้าราชการ หรือผู้รับบำนาญที่ถึงแก่ความตาย ซึ่งจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว บำเหน็จตกทอด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ข้าราชการประจำถึงแก่ความตาย 1.1 เหตุปกติ เป็นโรค หรือเจ็บป่วย 1.2 เหตุผิดธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือถูกกระทำถึงแก่ความตายซึ่งไม่ได้เกิดจากการประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง การคำนวณ เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 2. ผู้รับบำนาญถึงแก่ความตาย ให้จ่าย 30 เท่า ของอัตราบำนาญที่ผู้ตายมีสิทธิได้รับ การคำนวณ (บำนาญปกติ X 30) – บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว หรือ ((บำนาญปกติ+บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ) X 30)) - บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว
8
การอบรม ภาคสนามที่ โรงเรียนนายร้อย จปร.
10
ไหว้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจำโรงเรียนนายร้อย จปร.
11
กจิกรรมต่างๆ ในการฝึกภาคสนาม ที่โรงเรียนนายร้อย จปร.
กจิกรรมต่างๆ ในการฝึกภาคสนาม ที่โรงเรียนนายร้อย จปร.
12
๑๔ พ.ค. ๖๒
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.