งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information วิทยา ใจวิถี ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ  : 097 –

2 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

3 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

4 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

5 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

6 (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ “ครูยุคใหม่...สร้างเด็กไทย 4.0”
- เด็กยุคใหม่จะต้องมีความสามารถในการทำงานที่ต้องอาศัยทักษะขั้นสูง ในการคิดวิเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงทักษะในการเข้าใจผู้อื่น - เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างนวัตกรรม (Innovation) สร้างผลงาน และการสร้างทักษะส่วนบุคคล (Soft skills) (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ “ครูยุคใหม่...สร้างเด็กไทย 4.0” 9 กันยายน 2560)

7 การปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้
พลวัตรในศตวรรษที่ 21 “Mr.Wittaya Jaiwithee” 10/05/62

8 การดำรงอยู่ การเรียนรู้ การทำงาน การดำเนินธุรกิจ
1.เรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย (Purposeful Learning 2.เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (Generative Learning) 3.เรียนรู้เพื่อส่วนรวม (Mindful Learning) 4.เรียนรู้เพื่อการนำไปปฏิบัติ (Result-Based Learning) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

9 เรียนรู้ อย่างมีเป้าหมาย
ใช้ความรู้ สร้าง นวัตกรรม 4.0 สร้าง องค์ ความรู้ เรียนรู้ อย่างมีเป้าหมาย 3.0 เรียนรู้ ด้วย ตนเอง 2.0 เรียนรู้ จากผู้สอน 1.0 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

10 การเรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆ การเรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆ เรียนรู้สิ่งที่ รู้แล้ว
Lear n เรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ Unlearn Relear n การไม่ติดยึด และ ละทิ้งสิ่งที่รู้ มา การไม่ติดยึด และ ละทิ้งสิ่งที่รู้ มา เรียนรู้สิ่งที่ รู้แล้ว ด้วยมุมมอง ใหม่ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

11 Op en เรียนรู้ เพื่อส่วนรวม Shari ng Collabora ting

12 Engineerin g เรียนรู้ เพื่อการนำไปปฏิบัติ Technol ogy Ar t Scien ce Mathem atics

13 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
เปลี่ยนแปลงเป้าหมายของการเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์และทักษะครู เปลี่ยนแปลงหลักสูตรการเรียนการสอน เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ของการเรียนรู้ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

14 4 กระบวนการเรียนรู้ : เตรียมคนไทย 4.0 เพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สังคมไทย 4.0
เรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้เพื่อส่วนรวม เรียนรู้เพื่อการนำไปปฏิบัติ สังคมไท ย 4.0 สังคมที่มีความหวัง (Society with Hope) สังคมที่เปี่ยมสุข (Society with Happiness) สังคมที่มีสมานฉันท์ (Society with Harmony)ใ คนไทย 4.0 ปัญญาที่เฉียบแหลม (Head) ทักษะที่เห็นผล (Hand) สุขภาพที่แข็งแรง (Health) จิตใจที่งดงาม (Heart)

15 ทักษะที่มีความสำคัญมากขึ้น
ทักษะที่มีความสำคัญมากขึ้น  Cognitive Abilities Process Skills Systems Skills Complex Problem Solving Content Skills “Mr.Wittaya Jaiwithee”

16

17 Active Learning คือกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ
ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้กระทำลงไป ผู้เรียนเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้ (receive) ไปสู่การ มีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (co-creators)ง “Mr.Wittaya Jaiwithee”

18 Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง
เป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติหรือการลงมือทำ “ความรู้” ที่เกิดขึ้นก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์  กระบวนการเรียนที่ผู้เรียนต้องลงมือกระทำมากกว่า การฟังเพียงอย่างเดียว  ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้โดยการอ่าน , การเขียน, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา  ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การ วิเคราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมินค่า Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

19 ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ความรู้แก่ ผู้เรียนโดยตรง
เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ความรู้แก่ ผู้เรียนโดยตรง ครูเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียน เกิดความกระตือรือร้น ในการจะทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้นและอย่างหลากหลาย ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกับเพื่อนๆ  Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

20 กระบวนการเรียนรู้ Active Learning
ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่ คงทนได้มากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning  สอดคล้องกับการทำงานของสมองที่สามารถเก็บและ จำสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บในระบบ ความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผล การเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในระยะยาวกว่า Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

21 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning
รูปแบบ/วิธีการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

22 การเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)
เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) การบริการ (Service Learning) จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning)  ด้วยการค้นพบ (Discovery Learning) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

23 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

24 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

25 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

26 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

27 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

28 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

29 Background created by m62 Visualcommunications, visit www. m62
Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

30 “STEM” “Mr.Wittaya Jaiwithee”

31 ขั้นตอน STEM ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา
ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอน STEM ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีแก้ปัญหา (S+M+T) ขั้นที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (E) ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุง (E) ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวัตกรรม “Mr.Wittaya Jaiwithee”

32 สรุปขั้นตอน/กระบวนการ การจัดการเรียนแบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL)
“Mr.Wittaya Jaiwithee”

33 ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อม
ขั้นที่ 2 กำหนดและเลือกหัวข้อ ขั้นตอนที่ 3 เขียนเค้าโครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ 4 ปฏิบัติงานโครงงาน ขั้นที่ 5 นำเสนอผลงาน ขั้นตอนที่ 6 ประเมินโครงงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

34 "การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21"
1. เรียนรู้จากการทำโครงงาน (Projects) 2.จัดการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้เรียน (On-demand) 3.ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับรายบุคคล (Personalized) 4.ผสมผสานเน้นการทำงานร่วมกัน (Collaborative) 5.จัดห้องเรียนสู่ชุมชน โลกกว้างใหญ่ (Global community) 6.เรียนรู้ผ่านเครือข่าย ให้สร้างสรรค์ (Web-based) 7.ประเมินเพื่อปรับปรุงต่อเนื่อง (Formative Assessment) 8.มุ่งมั่นนำไปใช้ในชีวิต (Learning for Life) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

35 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Learner-centered Approach)
กระบวนการจัดการศึกษาที่เน้น ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทำงาน เชื่อมโยง ประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้เข้ากับสังคม มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดย สะท้อนจากการที่ผู้เรียนสามารถ เลือกทำโครงงานหรือชิ้นงานตามความสนใจในขอบเขต เนื้อหาของวิชานั้นๆ Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

36 ชุมชนการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC)
หมายถึง กลุ่มของบุคคลที่มีการแบ่งปันความคิด การพูดคุยวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุมีผลที่เกี่ยวกับ การปฏิบัติ การสะท้อนคิด การร่วมมือกัน การมอง อย่างรอบคอบรอบด้าน มุ่งสู่การเรียนรู้ร่วมกัน ค้นหาแนวทางที่จะพัฒนาก้าวหน้า Background created by m62 Visualcommunications, visit for more information

37 “ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ”
… J.Wittaya …


ดาวน์โหลด ppt พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google