ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
บทที่ 7 สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน Finance Institution and Financial Policy
2
ความหมายของตลาดการเงิน (Financial Market)
-กลุ่มของตัวกลางทางการเงิน ทั้งที่เป็นสถาบันการเงิน และมิใช่สถาบันการเงิน ซึ่งทำหน้าที่เป็นแหล่งกลางระหว่างผู้มีเงินเหลือใช้ และผู้ที่ต้องการใช้เงิน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว -แหล่งเงินทุนให้กู้ยืมเพื่อการดำเนินธุรกิจ -ตลาดที่อำนวยความสะดวกในการโอน หรือเปลี่ยนมือของสินทรัพย์ทางการเงินจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยสินทรัพย์ทางการเงินนี้อาจจะออกโดยหน่วยธุรกิจ สถาบันการเงิน และรัฐบาล
3
ตลาดการเงิน (Financial Market) ตลาดการเงินในระบบ (Financial Market)
ประเภทของตลาดการเงิน ตลาดการเงิน (Financial Market) ตลาดการเงินในระบบ (Organized Market) ตลาดการเงินนอกระบบ (Unorganized Market) ตลาดเงินในระบบ ตลาดทุนในระบบ ตลาดเงินนอกระบบ ตลาดทุนนอกระบบ ตลาดการเงินในระบบ (Financial Market) ตลาดเงิน (Financial Market) ตลาดทุน(Capital Market) ตลาดเงิน ในระบบ ตลาดเงินนอกระบบ ตลาดทุนในระบบ ตลาดทุนนอกระบบ
4
ตลาดการเงิน ( Financial Market )
ตลาดการเงิน คือ ตลาดที่อำนวยความสะดวกในการโอนเงินจากหน่วยเศรษฐกิจที่มีเงินออมไปยังหน่วยเศรษฐกิจที่ต้องการเงินออมเพื่อไปลงทุนในอนาคต ตลาดเงิน คือ ตลาดที่มีการระดมทุนและการให้สินเชื่อระยะสั้นที่ไม่เกิน 1 ปี ตลาดทุน คือ ตลาดที่มีการระดมเงินออมระยะยาวและให้สินเชื่อระยะยาวตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป
5
ตลาดเงิน ( Money Market )
สามารถแบ่งเป็นตลาดเงินในระบบ ( เช่น ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ ธนาคารกลาง ) และตลาดเงินนอกระบบ ( เช่น การกู้ยืมโดยไม่มีกฎหมายรับรอง ) กิจกรรมสำคัญ คือ การกู้ระหว่างธนาคาร การกู้โดยตรง การเบิกเงินเกินบัญชี การซื้อขายตราสารการเงินระยะสั้น ตราสารที่อยู่ในตลาดเงิน เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตั๋วเงินคลัง ตราสารการค้า บริษัทเงินทุน และ บริษัทหลักทรัพย์ต่างกันอย่างไร ???
6
ตลาดทุน ( Capital Market )
สถาบันการเงิน ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ธกส. ธอส. ออมสิน บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สหกรณ์ออมทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สหกรณ์การเกษตร ที่ให้สินเชื่อระยะยาวเกิน 1 ปี ตราสาร คือ หุ้นกู้ หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ พันธบัตรรัฐบาลและเอกชน ( ตราสารเหล่านี้ต่างกันอย่างไร??? ) ตลาดแรกและตลาดรองต่างกันอย่างไร ???
7
ตลาดทุน ตลาดสินเชื่อทั่วไป ตลาดหลักทรัพย์ - ตลาดแรก - ตลาดรอง
8
ตลาดแรก ตลาดรอง ผู้ลงทุน เงินทุน หุ้นสามัญ บริษัทที่ต้องการเงินทุน
ตลาดหลักทรัพย์ เงิน ตลาดแรก ตลาดรอง
9
ความสำคัญของตลาดการเงิน
เป็นแหล่งระดมทุนจากผู้มีเงินออมไปยังผู้ที่ต้องการเงินทุน มีการจัดสรรเงินทุนอย่างมีประสิทธิภาพ รักษาอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สร้างความมั่นคงให้กับระบบเศรษฐกิจ
10
ธนาคารในไทย ธนาคารพาณิชย์ไทย ธนาคารต่างชาติ
ธนาคารที่ตั้งขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สถาบันการเงินอื่นๆ ธนาคารกลาง
11
ธนาคารพาณิชย์ (commercial bank)
เป็นสถาบันการเงินที่ทำหน้าที่ระดมเงินฝาก และให้บุคคลหรือหน่วยธุรกิจกู้ยืม และให้บริการต่างๆ ซึ่งอำนวยความสะดวกให้ธุรกิจ ระบบธนาคารอิสระ ระบบธนาคารพาณิชย์ ระบบธนาคารสาขา
12
ธนาคารพาณิชย์ สาเหตุที่พิจารณาธนาคารพาณิชย์เป็นหลักเพราะเป็นสถาบันการเงินที่มีเงินทุนอยู่เป็นสัดส่วนที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับสถาบันการอื่นๆ เช่น บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม บริษัทประกันภัย ธนาคารพาณิชย์สามารถสร้างเงินฝากได้ โดยมีข้อกำหนดบางประการเช่นการกันสำรองตามกฎหมาย ( Legal Reserve Requirement ) สำรองตามกฎหมาย 20% หมายความว่า ถ้าธนาคารพาณิชย์มีเงินฝากกระแสรายวัน 100 บาท จะต้องกันสำรองไว้ 20 บาท
13
หน้าที่หลักของธนาคารพาณิชย์
เงินฝากกระแสรายวัน รับฝากเงิน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากกระจำ กู้ยืมโดยตรง (loans) ให้กู้ยืม เบิกเกินบัญชี (over draft ; OD) ให้บริการอื่นๆ เช่น โอนเงิน แลกเปลี่ยนเงินตรา ซื้อขาย แลกเปลี่ยนตั๋วเงิน สร้าง และทำลายเงินฝาก
14
ธนาคารพาณิชย์ ทุนสำรองเงินตรา
M1 = เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากกระแสรายวัน ธนาคารพาณิชย์ ทุนสำรองเงินตรา
15
ธนาคารพาณิชย์ สถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกำไร กำไร ดอกเบี้ยเงินกู้ ดอกเบี้ยเงินฝาก
16
สินทรัพย์ คือ การใช้ไปของเงินทุน
สินทรัพย์ = หนี้สิน + บัญชีทุน สินทรัพย์ คือ การใช้ไปของเงินทุน ทางใช้เงินทุนของธนาคาร การลงทุนในหลักทรัพย์รัฐบาลและหลักทรัพย์อื่น ๆ การให้สินเชื่อ แบบมีระยะเวลา เบิกเงินเกินบัญชี ซื้อลดเช็คหรือตั๋วเงิน สินทรัพย์ประจำ
17
หนี้สินและบัญชีทุน คือแหล่งที่มาของเงินทุน
เงินฝาก เงินกู้ยืม บัญชีทุน หนี้สินอื่น ๆ
18
กระบวนการสร้างเงินฝาก
เริ่มจากเงินฝากขั้นแรก เข้ามาที่ธนาคารแล้วถูกหักสำรอง เหลือเท่าไรให้ลูกค้ากู้ต่อ เมื่อลูกค้ากู้ไปฝากกับธนาคารก็จะเกิดกระบวนการนี้ต่อไปเรื่อยๆ แต่ปริมาณที่ให้กู้ได้จะลดลงเรื่อยๆ แต่ปริมาณเงินทั้งระบบจะเพิ่มขึ้น ธนาคารสามารถสร้างเงินสูงสุดได้ต่อเมื่อ ผู้กู้ต้องฝากเงินต่อกับธนาคารไม่ได้เบิกเป็นเงินสด ธนาคารมีส่วนเกินสำรองตามที่กฎหมายต้องการเท่าไรต้องปล่อยกู้จนหมด อัตราสำรองต้องไม่เกิน 100%
19
เงินสดสำรองทั้งสิ้น ( Cash Reserve ) คือ เงินสดทั้งสิ้นที่ ธพ
เงินสดสำรองตามกฎหมาย หรือ เงินสดสำรองที่ต้องดำรง ( Legal Reserve Requirement ) คือจำนวนเงินสดที่ ธพ. ต้องดำรงเมื่อเทียบกับเงินฝากกระแสรายวัน โดยเงินจำนวนนี้ต้องฝากไว้กับธนาคารกลาง เงินสดสำรองส่วนเกิน ( Excess Reserve ) คือเงินสดที่เหลือทั้งสิ้นหลังจากที่หักเงินสดสำรองที่ต้องดำรงออกไปแล้ว ซึ่งส่วนนี้ ธพ.สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การปล่อยกู้ ซึ่งเงินส่วนนี้จะทำให้ปริมาณเงินฝากรวมขยายตัวหรือเกิดการสร้างเงินฝากเกิดขึ้น เงินสดสำรองเพื่อการดำเนินการ (Working Reserve) สำรองไว้เพื่อเป็นสภาพคล่องสำหรับการเบิกถอนของลูกค้าและใช้จ่ายต่างๆของธนาคาร
20
ตัวอย่าง สมมติธนาคารพาณิชย์ มีเงินฝากกระแสรายวันทั้งสิ้น 100 ล้านบาท และระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ( Bank of Thailand: BOT ; ) กำหนดว่า ธนาคารพาณิชย์ต้องดำรงเงินฝากไว้ 7% ซึ่งในปัจจุบันธนาคารมีเงินสดสำรองทั้งสิ้น 15 ล้านบาท ดังนั้นแสดงว่าธนาคารนั้นมี - เงินสดสำรองทั้งสิ้น 15 ล้าน -เงินสดที่ต้องดำรง คือ 7% ของ 100 ล้าน คือ 7 ล้านบาท -เงินสดสำรองส่วนเกินอยู่ 8 ล้านบาท จะเกิดอะไรหาก ธปท. เพิ่มอัตราสำรอง และกระทบอย่างไรต่อปริมาณเงินในระบบ ???
21
เงินสดสำรอง เงินให้กู้ หรือ เงินสดสำรองส่วนเกิน
ทำให้ปริมาณเงิน เปลี่ยนแปลง เงินสดสำรอง ตามกฏหมาย
22
การสร้างเงินฝาก ของระบบธนาคารพาณิชย์
23
กระบวนการสร้างเงินฝาก
เริ่มจากเงินฝากขั้นแรก เข้ามาที่ธนาคารแล้วถูกหักสำรอง เหลือเท่าไรให้ลูกค้ากู้ต่อ เมื่อลูกค้ากู้ไปฝากกับธนาคารก็จะเกิดกระบวนการนี้ต่อไปเรื่อยๆ แต่ปริมาณที่ให้กู้ได้จะลดลงเรื่อยๆ แต่ปริมาณเงินทั้งระบบจะเพิ่มขึ้น ธนาคารสามารถสร้างเงินสูงสุดได้ต่อเมื่อ ผู้กู้ต้องฝากเงินต่อกับธนาคารไม่ได้เบิกเป็นเงินสด ธนาคารมีส่วนเกินสำรองตามที่กฎหมายต้องการเท่าไรต้องปล่อยกู้จนหมด อัตราสำรองต้องไม่เกิน 100%
24
นาย ก นำเงินไปฝากธนาคาร A 100 บาท กำหนดให้ R = 10%
เงินฝาก ขั้นแรก นาย ข มาขอกู้เงินธนาคาร A 90 บาท เพื่อจ่ายค่าวัตถุดิบ เปิดเป็นบัญชีเงินฝาก (90 บาท) เงินฝาก ขั้นที่สอง นาย ข จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (90 บาท) ให้นาย ค
25
นาย ง จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (81 บาท) ให้นาย จ
กำหนดให้ R = 10%(ต่อ) นาย ค นำเช็คไปฝากธนาคาร B 90 บาท ธนาคาร B สำรองเงินสด 9 บาท ให้กู้ 81 บาท นาย ง มาขอกู้เงินธนาคาร B 81 บาท เพื่อจ่ายค่าวัตถุดิบ เปิดเป็นบัญชีเงินฝาก นาย ง จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (81 บาท) ให้นาย จ
26
สมมติ มีผู้ฝากเงิน 100 บาท และอัตราสำรอง 10%
ฝาก 100 ข ฝาก 90 ปล่อยกู้ 90 กันสำรอง 10 เงินฝาก 100 กันสำรอง เงินฝาก ปล่อยกู้ 81 ค ฝาก 81 กันสำรอง เงินฝาก ง ปล่อยกู้ 72.9 ฝาก 72.9 กันสำรอง เงินฝาก แล้วหากเป็นอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ ปริมาณเงินฝากจะเป็นเท่าไร
27
การสร้างเงินฝาก และการทำลายเงินฝาก
ธนาคารกลางกำหนดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมายที่ 10% หากธนาคารมีเงินฝากขั้นต้น บาท ธนาคารพาณิชย์จะต้องดำรงเงินสดสำรองตามกฎหมาย 10 บาท ธนาคารพาณิชย์มีเงินสดสำรองส่วนเกิน 90 บาท ให้กู้ เงินกู้จำนวน 90 บาท หมุนเวียนกลับเข้ามาสู่ระบบธนาคารพาณิชย์อีกครั้งในรูปของเงินฝาก หากธนาคารมีเงินฝากเพิ่มขึ้น 90 บาท ธนาคารพาณิชย์จะต้องดำรงเงินสดสำรองตามกฎหมาย 9 บาท ธนาคารพาณิชย์มีเงินสดสำรองส่วนเกิน 81 บาท ให้กู้ เงินกู้จำนวน 81 บาท หมุนเวียนกลับเข้ามาสู่ระบบธนาคารพาณิชย์อีกครั้งในรูปของเงินฝาก และจะหมุนเวียนในลักษณะเช่นนี้อีกหลายๆ รอบ ทำให้ธนาคารพาณิชย์สามารถสร้างเงินฝากได้
28
กำหนดให้ R = 10% ธนาคาร เงินฝากที่เพิ่มขึ้น เงินสดสำรองตามกฏหมาย
เงินให้กู้ (สำรองส่วนเกิน) A =100 1 x 100 10 90 B =90 9 81 0.9 x 100 72.9 8.1 =81 C (0.9) 2 x 100 65.61 7.29 =72.9 D (0.9) 3 x 100 ... รวม 1,000 100 900
29
D คือ ปริมาณเงินฝากทั้งหมดที่เกิดขึ้น P คือ เงินฝากขั้นแรก
1,000 = 1 0.1 x 100 1 R D = x P D คือ ปริมาณเงินฝากทั้งหมดที่เกิดขึ้น P คือ เงินฝากขั้นแรก R คือ อัตราเงินสดสำรองตามกฏหมาย
30
เงินฝากขั้นแรก 100 บาท ทำให้ปริมาณเงินฝากรวมทั้งหมดเป็น 1,000 บาท
เงินฝากเพิ่มขึ้น เท่าของเงินฝากขั้นแรก ตัวทวีของการสร้างเงินฝาก
31
ตัวทวีของการสร้างเงินฝาก (m)
เงินฝากเพิ่มขึ้น เท่าของเงินฝากขั้นแรก 1,000 = 1 0.1 x 100 = x 100 R D = 1 x P = m x P m = 1 R
32
ธนาคารพาณิชย์สามารถสร้างเงินฝากได้สูงสุด
1 อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย = เงินสดสำรองส่วนเกิน x ตัวอย่าง ธนาคารกลางกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ต้องดำรงอัตราเงินสดสำรอง 20% หากธนาคารมีเงินฝาก 1,000 บาท ทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องสำรองเงิน 200 บาท 800 x 1 0.20 = ธนาคารพาณิชย์สามารถสร้างเงินฝากได้สูงสุด = 4,000 บาท
33
เงื่อนไขหรือข้อสมมติของการสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์
ไม่มีการถอนเงินฝากออกจากธนาคาร ระบบธนาคารจะต้องไม่ดำรงเงินสดสำรองไว้เกินกว่าที่กฏหมายกำหนด ระบบธนาคารจะต้องให้กู้ยืมเท่ากับเงินสดสำรองส่วนเกินทั้งสิ้นที่มีอยู่ อัตราเงินสดสำรองตามกฏหมายต้องต่ำกว่า ร้อยละ 100
34
การทำลายเงินฝาก เมื่อมีการถอนเงิน นาย ก ถอนเงิน 100 บาท ถ้า R = 10%
ปริมาณเงินจะลดลงทั้งหมด 1,000 บาท
35
การทำลายเงินฝาก ธนาคารจะทำลายเงินฝากโดยการเรียกเงินกู้กลับคืนเมื่อเงินสดสำรองส่วนเกินลดลง เช่น อาจเกิดจากการที่ ธปท. ปรับเปลี่ยนนโยบายเรื่องอัตราสำรองตามกฎหมาย ธนาคารอาจลดเงินฝากเท่ากับเงินสดสำรองส่วนเกินที่ลดลง หรืออาจกำหนดเป็นนโยบายอื่นๆ เช่น ทำลายเงินฝากเป็น 80 เปอร์เซ็นต์ของเงินสดสำรองที่ลดลง
36
ตัวอย่าง ธนาคารมีเงินฝากขั้นต้น 1 ล้านบาท อัตราสำรองขณะนั้น คือ 10% ถ้า หากต่อมาธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้นอัตราเงินสดสำรองเป็น 11% ธนาคารจะต้องทำลายเงินฝากเท่าไร โดยสมมติให้ธนาคารทำลายเงินฝากเท่ากับเงินสดส่วนเกินที่ลดลง
37
ธนาคารพาณิชย์สามารถทำลายเงินฝากได้สูงสุด
1 อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย(เดิม) = เงินสดสำรองตามกฎหมายที่ต้องสำรองเพิ่มขึ้น x ตัวอย่าง ธนาคารกลางกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ต้องดำรงอัตราเงินสดสำรองเพิ่มขึ้นจาก 20% เป็น 30% ทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องสำรองเงินเพิ่มขึ้นจากเดิม 100 บาท 100 x 1 0.20 = ธนาคารพาณิชย์สามารถทำลายเงินฝากได้สูงสุด = 500 บาท
38
ปริมาณเงินจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ
การฝากเงิน / การถอนเงิน ฝากเงิน ปริมาณเงินเพิ่ม ถอนเงิน ปริมาณเงินลด
39
อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย (R)
D = 1 R x P = m x P ถ้า R D ถ้า R D สำรองส่วนเกิน (เงินให้กู้) ถ้ามีเงินให้กู้ D ถ้ามีเงินให้กู้ D
40
ข้อแตกต่างระหว่างธนาคารกลางกับธนาคารพาณิชย์
การหากำไร ลูกค้าของธนาคาร
41
ธนาคารกลาง เป็นสถาบันที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน และเศรษฐกิจของประเทศ ควบคุมปริมาณเงิน และเครดิตให้เกิดสภาพคล่อง โดยมุ่งการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมีเสถียรภาพ สถาบันการเงินที่ส่วนมากเป็นของรัฐ หน้าที่เป็นศูนย์กลางด้านสินเชื่อ เครดิต และระบบการเงินของประเทศ ธนาคารกลางของประเทศไทย คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)
42
หน้าที่ของธนาคารกลาง
ออกธนบัตร รักษาทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นนายธนาคารของรัฐบาล เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ เป็นผู้ให้กู้ยืมแหล่งสุดท้ายของธนาคารพาณิชย์ ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ควบคุมสถาบันการเงิน ส่งเสริมพัฒนาเศรษฐกิจ ควบคุมปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ โดยใช้นโยบายการเงิน
43
นโยบายการเงิน
44
นโยบายการเงิน ( Monetary Policy )
นโยบายการเงิน คือ การดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ เช่น การรักษาเสถียรภาพของราคา ส่งเสริมการจ้างงาน การรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม นโยบายของรัฐบาลซึ่งดำเนินการผ่านธนาคารกลางในการควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของประเทศ ให้มีขนาดพอเพียงกับความต้องการทางเศรษฐกิจ ไม่ให้เกิดปัญหาทางการเงิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
45
ประเภทของนโยบายการเงิน
นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (Restrictive monetary policy) ทำให้ปริมาณเงินเล็กลง นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (Easy or expansionary monetary policy) ทำให้ปริมาณเงินมีขนาดใหญ่ขึ้น
46
นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย
ปริมาณเงินมาก ปริมาณเงินน้อย ใช้จ่ายมาก ใช้จ่ายน้อย GDP มาก GDP น้อย ลูกโป่งตึงมาก ลูกโป่งแฟบ ลดปริมาณเงิน เพิ่มปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย
47
เครื่องมือของนโยบายการเงิน
การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Qualitative or selective control) การชักชวนให้ปฏิบัติตาม (Moral Suasion)
48
1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป
1.1การซื้อขายหลักทรัพย์โดยเปิดเผย (Open-market operations) 1.2การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสำรองตามกฏหมาย (Changing reserve requirement) 1.3การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (Changing the rediscount rate) 1.4การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (Changing the bank rate)
49
นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
ซื้อ-ขายหลักทรัพย์ ขาย หลักทรัพย์ ปริมาณเงิน ลดลง ซื้อ หลักทรัพย์ ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น ปรับอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย เพิ่ม อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย ปริมาณเงิน ลดลง ลด อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น ปรับอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน เพิ่ม อัตรารับช่วงซื้อลดตั่วเงิน ปริมาณเงิน ลดลง ลด อัตรารับช่วงซื้อลดตั่วเงิน ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น
50
1.1 Open-market operations
ธนาคารกลางต้องการเพิ่มปริมาณเงิน ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ ชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ด้วยเช็ค ผู้ขายนำเงินไปฝากธนาคารพาณิชย์ การสร้างเงินฝาก ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น ตามค่าตัวทวี
51
ธนาคารกลาง เงิน ธนาคารพาณิชย์ พันธบัตรรัฐบาล
เหตุใดธนาคารพาณิชย์จึงซื้อหลักทรัพย์ในรูปพันธบัตร ธนาคารพาณิชย์อาจขายพันธบัตรคืน ขึ้นกับอัตรารับช่วงซื้อลด และส่งผลอย่างไรต่อปริมาณเงินในระบบ
52
1.2 Changing reserve requirement
ใหม่ R = 10% R = 25% สำรองส่วนเกิน เพิ่มขึ้น สำรองส่วนเกิน ลดลง ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมเพิ่มขึ้น ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมลดลง ปริมาณเงิน ในระบบเพิ่มขึ้น ปริมาณเงิน ในระบบลดลง
53
1.2 Changing reserve requirement (ต่อ)
เดิม R = 20% และ P = บาท D = 1 R x P = 1 0.2 x 100 = 500 ใหม่ R = 10% R = 25% D = 1 0.1 x 100 D = 1 0.25 x 100 = 1,000 (D เพิ่มขึ้น) = 400 (D ลดลง)
54
1.3 Changing the rediscount rate
นาย ก. มีตั๋วเงินมูลค่า 100 บาท ธ.พาณิชย์คิด อัตราส่วนลด (Discount Rate) 10% นาย ก. ขายตั๋วเงินให้ ธ.พาณิชย์ นาย ก. ได้เงิน 90 บาท ธ.กลางคิด อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount Rate) 5% ธ.พาณิชย์ขายตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ธ.พาณิชย์ได้เงิน 95 บาท ธ.พาณิชย์นำเงินไปปล่อยกู้ได้
55
1.3 Changing the rediscount rate (ต่อ)
> Rediscount Rate ส่วนต่าง คือ กำไรของธนาคารพาณิชย์
56
3. Changing the rediscount rate (ต่อ)
เดิม Rediscount Rate = 5% , Discount Rate = 10% ใหม่ Rediscount Rate = 8% (เพิ่มขึ้น) ธ.พาณิชย์เพิ่ม Discount Rate ธ.พาณิชย์ลดการขาย ตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ปริมาณเงินให้กู้ลดลง ลูกค้านำตั๋วเงินมาขายลดลง D ลดลง D ลดลง
57
อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate)
4. Changing the bank rate อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate) อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดจาก ธนาคารพาณิชย์
58
4. Changing the bank rate (ต่อ)
ธ.กลางลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ธ.พาณิชย์กู้ได้มากขึ้น ธ.พาณิชย์ปล่อยกู้หรือให้สินเชื่อมากขึ้น D เพิ่มขึ้น ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของธนาคารพาณิชย์
59
2. การควบคุมทางคุณภาพหรือควบคุมเฉพาะอย่าง
2.1การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค 2.2การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไร ในการซื้อขายหลักทรัพย์
60
2.1 การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค
การชำระค่าสินค้า เงินดาวน์ เงินผ่อนรายงวด ส่งเสริมการใช้จ่าย เพื่อการบริโภค
61
2.1 การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค (ต่อ)
ลดปริมาณเงิน เพิ่มเงินดาวน์ ลดจำนวนงวดในการผ่อน (ใช้เงินมากขึ้นในการแต่ละงวด) + ซื้อสินค้าลดลง การกู้ยืมลดลง D ลดลง
62
2.2 การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไร ในการซื้อขายหลักทรัพย์
Margin Margin = 40% ชำระเงินสด 40% ของราคาหลักทรัพย์ ที่เหลือ 60% กู้จากบริษัทนายหน้า โดยเอาหลักทรัพย์นั้นค้ำประกัน
63
2.2 การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไรในการซื้อขายหลักทรัพย์ (ต่อ)
ลดปริมาณเงิน ธ.กลางกำหนดให้ตลาดหลักทรัพย์เพิ่ม Margin ซื้อหุ้นลดลง กู้เงินลดลง D ลดลง
64
3. การชักชวนธนาคารพาณิชย์ให้ปฏิบัติตาม
65
สรุปนโยบายการเงิน เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำมาก
นโยบายการเงิน : ลดปริมาณเงิน : แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน : เพิ่มปริมาณเงิน : แบบผ่อนคลาย เชิงปริมาณ 1. ธ.กลางขายหลักทรัพย์ 1. ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ 2. เพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 2. ลดอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 3. เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด 3. ลดอัตรารับช่วงซื้อลด 4. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 4. ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน เชิงคุณภาพ 1. เพิ่มเงินดาวน์ + ลดปีผ่อน 1. ลดเงินดาวน์ + เพิ่มปีผ่อน 2. เพิ่ม Margin 2. ลด Margin
66
นโยบายการเงินทำงานอย่างไร
67
ช่องทางต่าง ๆ ของกลไกการทำงานของนโยบายการเงิน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.