งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)

2 กฎหมายสาระบัญญัติ กฎหมายสบัญญัติ
เนื้อหาของกฎหมายที่กำหนดที่กำหนดสิทธิหน้าที่ในลักษณะต่างๆ เช่น กฎหมายแพ่ง อาญา กฎหมายสบัญญัติ กระบวนการ/กลไกในการบังคับใช้ ปกป้องสิทธิตามที่กฎหมายรองรับ

3 แต่กฎหมายถูกบังคับใช้หรือไม่ ในความเป็นจริง
กฎหมายอะไรบ้างที่เขียนแต่แทบไม่ถูกบังคับใช้ การห้ามโทรศัพท์ในระหว่างที่ขับรถ การจอดในทางม้าลาย หน้า ร.พ. สวนดอก การทำแท้งตามประมวลกฎหมายอาญา

4 ขับรถตกหลุมล้มลง เราจะทำอย่างไร

5 Law in Book >>>>>>>>>> Law in Action

6 การบังคับใช้กฎหมายโดยเอกชน
การบังคับใช้กฎหมายโดยรัฐ

7 David M. Engel. บทบาทของกฎหมายที่มีต่อชีวิตสามัญชน

8 Pyramid of Tort Law ปิรามิดของกฎหมายละเมิด แสดงถึงขั้นตอนในการบังคับใช้กฎหมายของผู้คน

9 Appeals Trials Lawsuits Claims Injuries Consulting an Attorney
Perception of Wrongdoing Injuries

10 จาก 1 ไป 2 น้อยมาก เรียกร้อง มีประมาณ 10 % ปรึกษาทนาย มี 7 %
ถ้าอีกฝ่ายเป็นหมอ จะมากหรือน้อยกว่า ประมาณ 4 % ชั้นฟ้องคดี มี 2 %

11

12 ชั้นพิจารณา 10 -15 - % ของคดีที่ฟ้องเท่านั้นได้รับการพิจารณา
มักเชื่อกันว่าโจทย์ชนะจะได้เงินมาก คดี McDonald ฟ้อง 2.9 $m ศาลลดเหลือ 640,000 $ อาจไปตกลงกันเองอีก

13 สอบเนติบัณฑิตฯ ผู้ตรวจลงคะแนนผิด
เป็นความเสียหายหรือไม่ มีกฎหมายรองรับหรือไม่ แล้วจะดำเนินการตามกฎหมายหรือไม่ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ จะทำอะไรบ้างภายหลังจากเหตุการณ์ แล้วจะใช้กฎหมายปกป้องสิทธิของตนหรือไม่

14 การตัดสินใจใช้กฎหมายในความเป็นจริงจึงมีเงื่อนไข
แม้กฎหมายที่มีชัดเจน อาจไม่มีผลในทางปฏิบัติได้ ทำให้เกิดความสูญเปล่าในการบัญญัติกฎหมาย เกิดการเฟ้อของกฎหมายและอาจนำมาซึ่งการเลือกบังคับใช้กฎหมาย

15 ปัจจัยสำคัญต่อการบังคับใช้กฎหมายโดยเอกชน ความรู้/ความไม่รู้
คนที่ไม่มีความรู้กับคนที่มีความรู้ด้านกฎหมาย ต้นทุนในการดำเนินการ สิ่งที่ต้องเสียไปในระหว่างการใช้กฎหมาย ไม่ใช่เพียงเฉพาะที่คำนวณได้ มีเรื่องอื่นๆ

16 ความแปลกแยกทางวัฒนธรรม
ความไม่คุ้นชิน ความไม่เข้าใจ ภาษาที่แตกต่าง บรรยากาศที่เป็นทางการ ไม่เป็นมิตร ไม่เพียงเฉพาะชาวบ้าน แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ ความคาดหมายต่อผลในคดี ถ้าโอกาส “ไม่ชนะ” มีสูง จะดำเนินการหรือไม่

17 ควรจะทำอย่างไร มาตรการอื่นเพื่อทำให้เกิดการคุ้มครองบุคคลถ้าส่วนใหญ่ติดอยู่ที่ฐานของปิรามิด พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ทุกคนที่ใช้รถยนต์เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความเสี่ยง จึงต้องจ่ายค่าสร้างความเสี่ยงเพื่อไปเป็นกองทุนในการเยียวยาเบื้องต้น

18 การปรับระบบกฎหมายเพื่อให้รองรับกับลักษณะคดี/ข้อพิพาทมากขึ้น
เจ้าหน้าที่ตำรวจหญิง การพิจารณาคดีที่รวดเร็ว สะดวกกับฝ่ายผู้เสียหายมากขึ้น ฯลฯ

19 การบังคับใช้กฎหมายโดยหน่วยงานรัฐ
มีเงื่อนไขที่แตกต่างไปจากการบังคับใช้กฎหมายโดยเอกชนอย่างสำคัญ ความเสียหายเป็นของส่วนรวม มีเจ้าหน้าที่ดำเนินการเฉพาะ การแพ้/ชนะคดี ไม่กระทบถึงตนเองอย่างสำคัญ

20 ปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายโดยรัฐ
หนึ่ง การไม่ดำเนินการตามกฎหมาย โรงงานปล่อยน้ำเสีย ติดต่อให้เจ้าหน้าที่มาตรวจสอบ สายไฟระเกะระกะ

21 สอง เลือกปฏิบัติ/ให้ความสำคัญต่อประเด็นที่ตอบสนองรัฐ/ผู้มีอำนาจ/นโยบายในห้วงเวลานั้น
ไม่มีการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ เท่าเทียม หากแต่มีการเลือกปฏิบัติ

22 คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ
ข้อ ๑๒ ผู้ใดมั่วสุม หรือชุมนุมทางการเมือง ณ ที่ใด ๆ ที่มีจำนวนตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เว้นแต่เป็นการชุมนุม ที่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งที่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย เป็นระยะเวลาไม่เกินเจ็ดวันและเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยเห็นสมควรปล่อยตัวโดยมีเงื่อนไข หรือไม่มีเงื่อนไขตามข้อ ๑๑ วรรคสอง ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามมาตรา ๓๗ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

23 พุทธอิสระ ชุมนุมหน้าสถานทูต USA

24 พระสงฆ์มาชุมนุมที่พุทธมณฑล

25 ‘พุทธะอิสระ’ พร้อมที่ปรึกษากฎหมาย เดินทางมาที่ สภ. พุทธมณฑล จ
‘พุทธะอิสระ’ พร้อมที่ปรึกษากฎหมาย เดินทางมาที่ สภ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม เข้าพบพนักงานสอบสวน สภ. เพื่อให้ดำเนินคดีพระเมธีธรรมมาจารย์ รองเลขาธิการศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) และสมาคมนักวิชาการเพื่อพระพุทธศาสนา (สนพ) โดยระบุว่าผิดใน 4 ข้อหา 1.ละเมิด พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ พ.ร.บ.ควบคุมการใช้เครื่องขยายเสียง พ.ศ.2493, ประมวลกฎหมายอาญา ม.157,ม.326, ม.328 และ 3.ฐานเป็นเจ้าพนักงานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หมิ่นประมาท และ 4.หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา

26

27

28 จะมีกลไกทางกฎหมายเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเลือกปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมายได้อย่างไรบ้าง
การวินิจฉัยของศาลจะมีส่วนในการทำให้เกิดการไม่เลือกปฏิบัติได้หรือไม่

29 สาม ดำเนินการโดยไม่ใช้หลักวิชาและความรู้
เป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของกระบวนการ และไม่ใช้หลักวิชาในการปฏิบัติหน้าที่ ปล่อยให้ประชาชนไปเผชิญชะตากรรมกับกระบวนการอื่นเอาเอง

30 มาตรา 112 “ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จ ราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้า” การฟ้องคดี 112 ทำอย่างไรได้บ้าง เจ้าหน้าที่ตำรวจ/อัยการ ทำอย่างไร กลั่นกรองอย่างเต็มความสามารถหรือเป็นบุรุษไปรษณีย์

31 หมิ่นคุณทองแดง

32 ปัจจัยสำคัญในการบังคับใช้กฎหมายโดยรัฐ
ข้อจำกัดของหน่วยงาน การทุจริตของเจ้าหน้าที่ ความขลาดของเจ้าหน้าที่ แนวนโยบายของรัฐ

33 ควรทำอย่างไรต่อไป เพื่อให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายที่เป็นธรรม เสมอหน้า และมีประสิทธิภาพมากขึ้น


ดาวน์โหลด ppt การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google