ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
: มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย มอก เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย 5 ประเภท เครื่องหมายห้าม เครื่องหมายบังคับ เครื่องหมายเตือน เครื่องหมายแสดงภาวะปลอดภัย เครื่องหมายแสดงอุปกรณ์เกี่ยวกับอัคคีภัย รูปแบบการกำหนดเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety marking) พื้นที่อันตราย เขตหวงห้าม หรือพื้นที่เก็บอุปกรณ์ผจญเพลิง บังคับให้ปฏิบัติ สภาวะปลอดภัย รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
2
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
3
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
: ขนาดของสัญลักษณ์ ตาม มอก เล่ม 1,เล่ม 2 (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว) รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
4
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
5
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
6
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
7
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
8
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
9
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
เครื่องหมายร่วม :ติดแสดงอยู่บนแผ่นแสดงเครื่องหมายเดียวกัน การวางเครื่องหมายเสริม รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
10
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
เครื่องหมายผสม(multi sign) เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยตั้งแต่ 2 ความหมาย และหรือเครื่องหมายเสริมหมายเครื่องหมายบนแผ่นแสดงเครื่องหมายเดียวกัน การจัดลำดับให้เป็นไปตามความสำคัญของการสื่อความหมายด้านความปลอดภัย ใช้สื่อความหมายด้านความปลอดภัยที่ซับซ้อน รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
11
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
12
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
13
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย : ตัวอย่างเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
14
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
15
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
16
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
17
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
18
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
: ข้อแนะนำการเลือกและการใช้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย เครื่องหมายทั่วไป เครื่องหมายเสริม การใช้เครื่องหมายความปลอดภัยร่วมกับเครื่องหมายเสริม ใช้สัญลักษณ์ภาพที่เหมาะสม เข้าใจง่าย ใช้เครื่องหมายทั่วไปสำหรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแต่ละประเภทร่วมกับเครื่องหมายเสริม รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
19
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
20
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
21
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
22
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย : ด้านรังสี
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
23
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย : ด้านรังสี
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
24
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันอังคารที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ให้หน่วยงานราชการสำรวจและจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการเข้าถึงได้ โดยเริ่มจากโรงพยาบาล ต้องจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกให้ครบทุกประเภท ตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๕๔๘ รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
25
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ (๑) โรงพยาบาล สถานพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานีอนามัย อาคารที่ทำการของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย สถานศึกษา หอสมุดและพิพิธภัณฑสถานของรัฐ สถานีขนส่งมวลชน เช่น ท่าอากาศยาน สถานีรถไฟ สถานีรถ ท่าเทียบเรือที่มีพื้นที่ส่วนใดของอาคารที่เปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร (๒) สำนักงาน โรงมหรสพ โรงแรม หอประชุม สนามกีฬา ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้าประเภทต่าง ๆ ที่มีพื้นที่ส่วนใดของอาคารที่เปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
26
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ข้อ ๔ อาคารตามข้อ ๓ ต้องจัดให้มีป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (๑) สัญลักษณ์รูปผู้พิการ (๒) เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (๓) สัญลักษณ์ หรือตัวอักษรแสดงประเภทของสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ข้อ ๕ สัญลักษณ์รูปผู้พิการ เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา และสัญลักษณ์หรือตัวอักษรแสดงประเภทของสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามข้อ ๔ ให้เป็นสีขาวโดยพื้นป้ายเป็นสีน้ำเงิน หรือเป็นสีน้ำเงินโดยพื้นป้ายเป็นสีขาว ข้อ ๖ ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ต้องมีความชัดเจน มองเห็นได้ง่าย ติดอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ทำให้สับสน และต้องจัดให้มีแสงส่องสว่างเป็นพิเศษทั้งกลางวันและกลางคืน รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
27
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ทางลาดและลิฟต์ มีป้ายแสดงทิศทาง ตำแหน่ง หรือหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นและทางลงของทางลาดที่เชื่อมระหว่างชั้นของอาคาร ให้มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ในบริเวณทางลาดที่จัดไว้ให้แก่ผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา ให้มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ที่ช่องประตูด้านนอกของลิฟต์ที่จัดไว้ให้ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
28
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
บันได มีป้ายแสดงทิศทาง ตำแหน่ง หรือหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นและทางลงของบันไดที่เชื่อมระหว่างชั้นของอาคาร ที่จอดรถ มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการนั่งเก้าอี้ล้ออยู่บนพื้นของที่จอดรถด้านที่ติดกับทางเดินรถ มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และมีป้ายขนาดกว้างไม่น้อยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร ติดอยู่สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า ๒,๐๐๐ มิลลิเมตร ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
29
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ห้องส้วม มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ที่ประตูด้านหน้าห้องส้วม ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้ผู้ที่อยู่ภายนอกแจ้งภัยแก่ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา และระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถแจ้งเหตุหรือเรียกหาผู้ช่วยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไว้ในห้องส้วม โดยมีปุ่มกดหรือปุ่มสัมผัสให้สัญญาณทำงานซึ่งติดตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้งานได้สะดวก รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
30
ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ
สัญลักษณ์สีขาวพื้นสีน้ำเงิน หรือสัญลัญลักษณสีน้ำเงินพื้นสีขาว ระยะทาง ขนาดตัวอักษร 0 - 7 เมตร 6 x 6 เซนติเมตร เมตร 11 x 11 เซนติเมตร 18 เมตรขึ้นไป 20 x 20 เซนติเมตร รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
31
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวก ทางลาด และลิฟต์ บันได ที่จอดรถ ทางเข้าอาคาร ทางเดินระหว่างอาคาร และทางเชื่อมระหว่างอาคาร ประตู ห้องส้วม พื้นผิวสัมผัส บริการข้อมูล ที่มา : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
32
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
ที่จอดรถปกติ ที่จอดรถคนพิการ คัน 1 คัน คัน 2 คัน คัน 3 คัน คัน 4 คัน คัน 5 คัน คัน 6 คัน คัน 7 คัน คัน 8 คัน คัน 9 คัน ให้จัดไว้ใกล้ทางเข้าอาคารมากที่สุด พื้นลานจอดรถให้มีผิวเรียบเสมอกัน ทำสัญลักษณ์ให้ชัดเจนว่าสำหรับคนพิการ พื้นที่จอดรถให้มีขนาด 3.80 x 6.00 เมตร / 1 คัน รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
33
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
ทางลาด ด้านไม่มีผนังกั้นต้องมีราวจับหรือขอบสูงจากพื้นผิว ไม่ต่ำกว่า 15 เซนติเมตร ทางลาด ยาวเกิน 250 เซนติเมตรต้องมีราวจับทั้งสองด้าน รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
34
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
35
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
36
สิ่งอำนวยความสะดวกให้สำหรับคนพิการ
ประตูที่เหมาะสมที่สุดคือประตูบานเลื่อน หากเป็นบานเปิดควรจัดให้อยู่ในลักษณะเปิดออกสู่ทางด้านนอก (เปิดออกเต็มที่ได้ไม่น้อยกว่า90 องศา และไม่ ควรติดตั้งตัวปิดประตูอัตโนมัติ (โชคอัพประตู )) รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
37
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
รักศักดิ์ นิลฉาย งานส่งเสริมวิศวกรรมความปลอดภัย กองวิศวกรรมการแพทย์ โทร ต่อ /seehosp
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.